Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนวพล วิชัยคำมาตย์, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-05T07:01:21Z-
dc.date.available2023-03-05T07:01:21Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3730-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการใช้อำนาจของคณะกรรมาธิการในการออกคำสั่งเรียกบุคคลหรือเรียกพยานเอกสารตามพระราชบัญญัติกาสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 ในประเด็นปัญหาเกี่ยวกับอ๋านาจการสวนของคณะกรรมาธิการ เนื่องจากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 ได้บัญญัติอำนาจหน้าที่สอบสวนของคณะกรรมาธิการไว้กว้างและยังขาดความชัดเจนอยู่พอสมควรทั้ง ๆ ที่พระราชบัญญัติฉบับนี้บัญญัติขึ้นมาเพื่อกำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยอาศัยบรรทัดฐานในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ในการศึกษาครั้งนี้ผู้เขียนได้ศึกษาอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการของประเทศไทยเปรียบเทียบกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการในประเทศฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ซึ่งคณะกรรมาธิการในประเทศที่นํามาเปรียบเทียบข้างต้น ถือเป็นคณะกรรมาธิการที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่ามีประสิทธิภาพสอดคล้องกับหลักพื้นฐานสากลเป็นลำดับต้น ๆ ของโลก จากการศึกษาพบว่าการใช้อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 ส่งผลให้มีปัญหาในทางปฏิบัติอยู่มาก ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับลักษณะการใช้อำนาจของคณะกรรมาธิการที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิของผู้ได้รับคําสั่ง ปัญหาเกี่ยวกับขอบเขตการใช้อำนาจของคณะกรรมาธิการ ขาดความชัดเจนเกี่ยวกับการออกคำสั่งที่อาจส่งผลกระทบต่อการใช้อำนาจทางตุลาการของศาลปัญหาเกี่ยวกับขั้นตอนการใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 ที่ทําหนดเพียงหลักการกว้าง ๆ แต่ไม่ระบุขั้นตอนการทํางานชัดเจนและปัญหาเกี่ยวกับสภาพบังคับของพระราชบัญญัติคําสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 ที่กำหนดขั้นตอนการดำเนินการลงโทษทางอาญาแบบรวบรัดให้อำนาจดุลพินิจ คณะกรรมาธิการแบบบาคการไตร่ตรองและมีการกำหนดโทษหนักเกินกว่าความเป็นจริง ปัญหาดังกล่าวส่งผลให้อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการขัดต่อหลักนิติรัฐและหลักประชาธิปไตย ดังนั้นการศึกษาค้นคว้าอิสระถบับนี้จึงเสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการโดยเสนอให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554 ส ให้มีความชัดเจนและมีมาตรการเกี่ยวกับการคุ้นครองสิทธิของผู้ถูกออกคำสั่งเรียก โดยนําหลักกฎหมายจากประเทศที่ศึกษา เปรียบเทียบ ได้แก่ ประเทศฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ มาเป็นแนวทางศึกษาทั้งนี้เพื่อให้อำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมาธิการของประเทศไทยตามพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภา พ.ศ. 2554 เป็นการใช้อำนาจหน้าที่ที่ถูกต้องตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและเป็นไปตามรัฐธรรมนูญth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอำนาจนิติบัญญัติ--ไทยth_TH
dc.titleปัญหาการบังคับใช้อำนาจของคณะกรรมาธิการตามพระราชบัญญัติคำสั่งเรียกของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา พ.ศ. 2554th_TH
dc.title.alternativeProblems on the enforcement of power of the committee under the request order of the Committee of House of Representative and Senate Act, B.E.2554en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมาหบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent aims to study the problems of committee’s power to order parties or documentary evidence according to the Request Order of the Committee of the House of Representatives and the Senate Act B.E. 2554 about the committee’s investigation power as the Request Order of the Committee of the House of Representatives and the Senate Act B.E. 2554 enacts the committee’s investigation power widely and unclearly even though this act is legislated to specify the executive authority of the committee more clearly using the baseline of Constitution of the Kingdom of Thailand B.E.2550. In this study, the author studies the executive power of the committee in Thailand by comparing it with the executive power of the committee in France, the United States of America and England. The committees of the comparing countries are widely-accepted and are top committees of the world in term of consistency with global fundamentals. According to the study, it is found that the executive power of the committee according to the Request Order of the Committee of the House of Representatives and the Senate Act B.E. 2554 results in many practical problems including the problems about the characteristics of the executive power of the committee affecting the rights of the ordered people, the problems about lacking of clear executive power limit as it may affect judicial power, the problems about the unspecific power exercising steps according to the Request Order of the Committee of the House of Representatives and the Senate Act B.E. 2554 and the problems about the control condition of the Request Order of the Committee of the House of Representatives and the Senate Act B.E. 2554 which is brief but lack of consideration and sets too severe punishment. The problems lead to the inconsistency among the executive power of the committee, legal state and constitution. Therefore, this independent suggests the guidelines towards the solution of the executive power of the committee by suggesting on the revision of the Request Order of the Committee of the House of Representatives and the Senate Act B.E. 2554 to become more clearly and providing the witness’s rights protection measures using the legal formulas of the comparing countries including France, the United States of America and Englandas the guidelines so that the Request Order of the Committee of the House of Representatives and the Senate Act B.E. 2554 is a right executive power which follows legal intention and constitutionen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons