Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3822
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดรุณี จำปาทอง | th_TH |
dc.contributor.author | วารินทร์ ไขประภาย, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-06T07:49:29Z | - |
dc.date.available | 2023-03-06T07:49:29Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3822 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องรัฐโบราณในดินแดนไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตแห่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียน โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องรัฐโบราณในดินแดนไทย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา จานวน 34 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบกลุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ (2) หนังสือเล็กทรอนิกส์เรื่องรัฐโบราณในดินแดนไทย (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องรัฐโบราณในดินแดนไทย (4) แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยผู้เชี่ยวชาญ และ (5) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับความเหมาะสมของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฎว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เรื่องรัฐโบราณในดินแดนไทยที่สร้างขึ้นมีคุณภาพและความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ประวัติศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ประวัติศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | ประวัติศาสตร์--การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--ประวัติศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการสอนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องรัฐโบราณในดินแดนไทยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of an electronic book in the topic of Thai ancient civilizations on learning achievement of Mathayom Suksa I students of Kasetsart University Laboratory School, Centerfor Educational Research and Development | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to develop an electronic book in the topic of Thai Ancient Civilizations for Mathayom Suksa I students of Kasetsart University Laboratory School; and (2) to compare the students’ learning achievements before and after learning from the electronic book in the topic of Thai Ancient Civilizations. The research sample consisted of 34 Mathayom Suksa I students of Kasetsart University Laboratory School, Center for Educational Research and Development, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans, (2) an electronic book in the topic of Thai Ancient Civilizations, (3) a learning achievement test in the topic of Thai Ancient Civilizations, (4) a form for quality evaluation of the electronic book by experts, and (5) a questionnaire on student’s opinion toward appropriateness of the electronic book. Data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that the developed electronic book in the topic of Thai Ancient Civilizations had quality and appropriateness at the high level, and the post-learning achievement of the students who learned from the electronic book was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_149015.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 26.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License