Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/383
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรุณี หรดาลth_TH
dc.contributor.authorชนิพรรณ จาติเสถียรth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T03:39:00Z-
dc.date.available2022-08-10T03:39:00Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2564), หน้า 1-14th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/383-
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจของครูปฐมวัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลก่อนและหลังเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยด้วย ผังกราฟิก 2) ศึกษาความสามารถของครูปฐมวัยเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมหลังเข้ารับการอบรม และ 3) ศึกษาความ พึงพอใจของครูปฐมวัยที่มีต่อการอบรม กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูปฐมวัยที่ดูแลรับผิดชอบสอนเด็กที่มีอายุระหว่าง 4-6 ปี ในปีการศึกษา 2563 สถานศึกษาปฐมวัยในกรุงเทพมหานคร นนทบุรี และปทุมธานี จำนวน 25 คน ที่สมัครใจและสามารถเข้ารับการอบรมได้ทั้งสองวัน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ เอกสารประกอบการอบรม แบบทดสอบความรู้ความเข้าในการจัดกิจกรรม แบบประเมินความสามารถในการจัดกิจกรรม และแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการอบรม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ครูปฐมวัยที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยด้วยผังกราฟิกสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ครูปฐมวัยที่เข้ารับการอบรมมีความสามารถเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด ครูสามารถออกแบบกิจกรรมการใช้ผังกราฟิกได้หลากหลาย และเลือกใช้ผังกราฟิกได้เหมาะสมกับการคิดวิเคราะห์ที่ต้องการพัฒนา แต่ยังไม่ให้ความสำคัญกับการใช้ตำแหน่ง เส้น สี รูปทรงเรขาคณิต และภาพที่แสดงความหมายที่จะช่วยเชื่อมโยงความคิดให้ทำความเข้าใจความคิดรวบยอดที่เรียนรู้ได้ง่ายและชัดเจนขึ้น และ 3) ครูปฐมวัยมีความพึงพอใจต่อการอบรมในระดับมากที่สุดth_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectการศึกษาปฐมวัย -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยด้วยผังกราฟิกสำหรับครูปฐมวัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of knowledge and ability for activity management to develop preschool children’s analytical thinking with graphic organizers for preschool teachers in Bangkok Metropolis and Vicinityen_US
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research objectives were 1) to compare knowledge and understanding of preschool teachers in Bangkok metropolis and vicinity before and after undertaking the training on provision of activities to develop preschool children’s analytical thinking with graphic organizers; 2) to investigate preschool teachers’ abilities on provision of activities after undertaking the training; 3) to investigate the preschool teachers’ satisfaction towards the training. The sample comprised 25preschool teachers, responsible for teaching children aged 4-6 years, in early childhood setting of the 2020 academic year in Bangkok metropolis, Nonthaburi, and Pathum Thani province, obtained by voluntary and be able to attend 2 days of training. The employed instruments consisted of the training package, a test to measure the preschool teachers’ knowledge and understanding on provision of activities, an evaluation form for assessment of preschool teachers’ abilities on provision of activities, and the training satisfaction evaluation form. Statistics employed were the mean, standard deviation, t-test, and content analysis. Research findings showed that 1) the knowledge and understanding of preschool teachers in provision of activities to develop preschool children’s analytical thinking with graphic organizer were significantly higher than their pre – training counterparts at the .01 level; 2) the abilities of preschool teachers in provision of activities was at the highest level. Teachers were able to design various activities cooperating the use of graphic organizer and to use appropriate graphic organizer to encourage analytical thinking. However, when using graphic organizer, they overlooked the using of the positioning, lines, colors, shapes, and pictures in representing and connecting ideas that would help in clarifying and understanding concepts; and 3) the preschool teachers rated their satisfaction towards the training at the highest levelen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44185.pdfเอกสารฉบับเต็ม659.88 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.