Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3841
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ศิรินภา วัฒนะโชติ, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-06T09:06:46Z | - |
dc.date.available | 2023-03-06T09:06:46Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3841 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์คำนวณวิชาเคมี เรื่องกรด – เบส ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการแก้ปัญหาโจทย์คำนวณวิชาเคมีของนักเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ การแก้ปัญหาโจทย์คำนวณวิชาเคมี เรื่องกรด – เบส กับเกณฑ์ร้อยละ 75 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร 1 ห้องเรียน จำนวน 39 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้คือ 1) แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์คำนวณวิชาเคมี เรื่องกรด – เบส 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีเรื่องกรด – เบส ใช้เวลาในการทดลอง 17 ชั่วโมง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์คำนวณวิชาเคมี เรื่องกรด-เบส มีประสิทธิภาพ 82.95/81.28 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีโดยใช้แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์คำนวณวิชาเคมีเรื่อง กรด – เบส สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 หลังจากใช้แบบฝึกทักษะสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การแก้ปัญหา--เคมี | th_TH |
dc.subject | เคมี--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์คำนวณวิชาเคมีเรื่อง กรด-เบสที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using chemistry calculate problem solving exercises in the topic of acid-base on learning achievement of Mathayom Suksa VI of Mahapruttaram Girls’ School, Bangkok | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to 1) develop the chemistry calculate problem solving exercises in the topic of acid-base with an efficiency of 80/80 and 2) compare the student’s learning achievement of chemistry calculate problem solving by using the chemistry calculate problem solving exercises in the topic of acid-base with the 75 percent criterion. The sample was 39 MathayomSuksa VI students in the 1st semester of 2017 academic year from Mahapruttaram Girls’School, Bangkok, obtained by cluster sampling. The instruments used in this study were 1) the chemistry calculate problem solving exercises in the topic of acid and 2) the chemistry in the topic of acid learning achievement test in the topic of acid-base. The research conducted in 17 hours. The statistics used for analyzing the collected data were the mean, standard deviation and t-test The results of the study were 1) the efficiency of chemistry calculate problem solving exercises in the topic of acid-base was 82.95/81.28 which was efficient according to than the expected criterion (80/80) and 2) the student’s learning achievement after learning by the chemistry calculate problem solving exercises was higher than the expected criterion (75 percent) at statistical significance of .05. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159403.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License