Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/384
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวินth_TH
dc.contributor.authorนารถนรี พอใจ, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T04:02:26Z-
dc.date.available2022-08-10T04:02:26Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/384en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตภาคเหนือตอนล่าง 2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตภาคเหนือตอนล่าง และ 3) ศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตภาคเหนือตอนล่าง วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรงเรียนเขตภาคเหนือตอนล่าง จํานวน 11,974 คน ได้กลุ่มตัวอยางจํานวน 636 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิตามขนาดของโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการเปรียบเทียบรายคู่ ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตภาคเหนือตอนล่างที่ใช้มากที่สุดคือ การปรึกษาครูแนะแนว รองลงมาคือ เอกสารแนะแนวการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา และเว็บไซต์แนะแนวการศึกษาต่อมหาวิทยาลัย 2) ผลการเปรียบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตภาคเหนือตอนล่างจําแนกตามเพศ และขนาดของโรงเรียนพบว่า นักเรียนที่มีเพศต่างกันมีการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อไม่แตกต่างกัน จําแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่าโรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมีการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 คือ โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษมีการใช้สารสนเทศมากกวาโรงเรียนขนาดใหญ่ และโรงเรียนขนาดกลาง 3) ปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 คือ การเข้าถึงสารสนเทศผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่โรงเรียนมีความล่าช้า รองลงมาคือทรัพยากรสารสนเทศในโรงเรียนมีจํานวนน้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2018.2en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสาร--ไทย (ภาคเหนือ)th_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนเขตภาคเหนือตอนล่างth_TH
dc.title.alternativeInformation use for study in higher education by Matayom 6 students in the Lower Northern Region Schoolsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2018.2-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are 1) to investigate information use for further study in Higher Education by Matayom 6 students in the Lower Northern Region Schools, 2) to compare information use for further study in Higher Education by Matayom 6 students in the Lower Northern Region Schools, and 3) to study the problems of information use for further study in Higher Education by Matayom 6 students in the Lower Northern Region schools. This research was a survey study, and the population consisted of 11,974 Matayom 6 students in the Lower Northern Region Schools. Stratified random sampling was also used, and the sample size was 636. The instrument, was a questionnaire. The statistical analyses were the percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance and paired comparison The research findings can be summarized as follows. 1) Matayom 6 students in the Lower Northern Region Schools relied most heavily on their teachercounselor to provide information on further study in higher education, followed by the information from university guidebooks and university websites respectively. 2) There was no statistical significance in terms of gender, but there found statistical significance at the level of 0.5 in terms of school sizes. Specifically, the extra large school used information more than the large and medium schools. 3) The most common problem of information use was related to the unreliable computer network for information access, followed by the insufficient information resources in schools.en_US
dc.contributor.coadvisorธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์th_TH
dc.contributor.coadvisorนิรนาท แสนสาth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159709.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons