Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3890
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา โพธิ์ดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไพวรรณ์ พวาศิริ, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T03:49:27Z-
dc.date.available2023-03-09T03:49:27Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3890-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ศึกษาสภาพการผลิตข้าว กข 6 ของเกษตรกร 3) วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าว กข 6 ของเกษตรกร และ 4) ศึกษาปัญหาในการผลิตข้าว กข 6 ของเกษตรกร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ เกษตรกรในหมู่ที่ 7 ตำบลกุดสระ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว กข 6 ปี การผลิต 2557 จำนวน 50 ราย โดยเก็บข้อมูลจากประชากรทุกราย เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่า เฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 55.82 ปี จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา มประสบการณ์การปลูกข้าวเฉลี่ย 34.36 ปี สมาชิกครัวเรือนเฉลี่ย 5.28 คน เป็นแรงงานภาคการเกษตรเฉลี่ย 4.08 คน เกษตรกรทุกคนใช้ทุนของตนเองในการปลูกข้าว มีพื้นที่การเกษตรเฉลี่ย 13.82 ไร่ พื้นที่ปลูกข้าวเฉลี่ย 8.64 ไร่ โดยเป็นพื้นที่ของตนเอง 2) เกษตรกรทุกรายปลูกข้าวโดยวิธีปักดาส่วนใหญ่เก็บเมล็ดพันธุ์ไว้เอง ใช้เมล็ด พันธุ์เฉลี่ย 3.81 กิโลกรัมต่อไร่ มีการไถดะ ไถแปร และไถคราดทุกราย สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย ระยะห่างในการปักดา เฉลี่ย 28.60 เซนติเมตร จำนวนต้นเฉลี่ย 3.8 ต้น ต่อกอปลูกข้าวโดยอาศัยน้ำฝนเป็นหลักจึงไม่มีการให้น้ำ 3) เกษตรกรได้ผลผลิตเฉลี่ย 356.75 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 4,240.21 บาทต่อไร่ ประกอบด้วยต้นทุนที่เป็นเงินสดและต้นทุนที่ไม่เป็นเงินสดเฉลี่ย 880.08 บาทต่อไร่ และ 3,360.13 บาทต่อไร่ ตามลำดับ รายได้เฉลี่ย 4,280.97 บาทต่อไร่ มีกำไรเฉลี่ย 40.76 บาทต่อไร่ ทั้งนี้ต้นทุนมากที่สุดคือค่าแรงงานโดยเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานครอบครัวในการปลูกข้าว จึงทำให้ต้นทุนที่เป็นเงินสดค่อนข้างต่ำ และต้นทุนที่ไม่เป็นเงินสดค่อนข้างสูง 4) ปัญหาที่สำคัญในการผลิตข้าว คือปุุ๋ยราคาแพง ค่าแรงงานสูง และขาดแคลนแรงงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าว--ต้นทุนการผลิตth_TH
dc.subjectข้าว--อัตราผลตอบแทนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการการเกษตรth_TH
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าว กข 6 ของเกษตรกร หมู่ที่ 7 ตำบลกุดสระ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.title.alternativeAnalysis of costs and returns of RD 6 rice production by farmers in Moo 7, Kutsa Sub-district, Mueang District, Udon Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the independent study were to 1) study the basic socio- economic status of farmers; 2) study RD 6 rice production of farmers; 3) analyze the costs and returns of RD 6 rice production; and 4) study their RD 6 rice production problems. The study population consisted of 50 farmers who registered for RD 6 rice production in 2014 in Moo 7, Kutsa Sub- district, Mueang District, Udon Thani Province. The data were collected from all of the study population. The research tool was a questionnaire. The data were analyzed by using frequency, mean, percentage, and standard deviation. The results showed that 1) most of farmers were male, mean age 55.82 years, with primary level education, and 34.36 years experience in rice production. Average household members and agricultural labor were 5.28 persons, and 4.08 persons, respectively. All of them used their own capital. Average farm area and rice field were 13.82 rais (1 rai = 1,600 m2), and 8.64 rais, respectively, and all of them owned their own land. 2) All farmers used transplanting rice method and mostly kept seed themselves. Average seed used was 3.81 kg./rai. Soil preparation consisted of plowing two times and harrowing afterwards. Soil texture was sandy loam. Average space of transplanting was 28.60 centimeters with 3.8 unit/ clump. Rainfall was their main source of water, so there was no irrigation. 3) Average yield was 356.75 kg./ rai. Their average costs of production were 4,240.21 baht/rai, which were composed of cash costs and noncash costs at 880.08 baht/rai, and 3,360.13 baht/rai., respectively. Their average income was 4,280.97 baht/rai. and profit was 40.76 baht/rai. Major costs of production were labor costs, and most farmers used their family labor, resulting in rather low cash costs and rather high noncash costs. 4) The main problems in rice production were the high price of fertilizer, high wage rate, and labor shortage.-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_145875.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons