Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3899
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ส่งเสริม หอมกลิ่น | th_TH |
dc.contributor.author | สิริพร ผลจันทร์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-09T04:40:30Z | - |
dc.date.available | 2023-03-09T04:40:30Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3899 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของสมาชิกสหกรณ์ 2) สภาพทางเศรษฐกิจของสมาชิกสหกรณ์ 3) พฤติกรรมการกู้ยืมเงินของสมาชิกสหกรณ์ 4) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้เงินกู้ของสหกรณ์กับพฤติกรรมการกู้ยืมเงินของสมาชิกสหกรณ์ 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของสมาชิกสหกรณ์ ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช จำกัด จำนวน 3,661 คน ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ จำนวน 361 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลแบบบังเอิญ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เพศหญิง อายุไม่เกิน 44 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี สถานภาพสมรส กลุ่มงานวิชาการ ระยะเวลาการเป็นสมาชิกมากกว่า 10 ปี 2) สภาพทางเศรษฐกิจของสมาชิกสหกรณ์ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 30,001-40,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในครอบครัว เฉลี่ยต่อเดือน 10,001- 20,000 บาท ภาระหนี้ทั้งหมดของตนเองกับสหกรณ์เฉลี่ย 1,500,000 - 2,000,000 บาท 3) พฤติกรรมการกู้ยืมเงินของสมาชิกสหกรณ์ ด่านเงินกู้เพื่อเหตุฉุกเฉิน ใช้บริการเงินกู้จำนวน 70,001 บาทขึ้นไป ร้อยละ 52.4 วัตถุประสงค์เพื่อใช้จ่ายส่วนตัว ร้อยละ 56.0 ความถี่ในการกู้ยืมเงิน 1 ครั้งต่อปี ร้อยละ 38.2 ด้านเงินกู้สามัญ ใช้บริการเงินกู้จำนวน 1,500,001 - 2,000,000 บาท ร้อยละ 56.5 วัตถุประสงค์เพื่อค่าใช้จ่ายในการดำเนินชีวิต ร้อยละ 48.5 ความถี่ในการกู้ยืมเงิน 1 ครั้งต่อปี ร้อยละ 71.5 ด้านเงินกู้พิเศษ ส่วนใหญ่ไม่ใช้บริการเงินกู้ร้อยละ 90.6 4) ความคิดเห็นเกี่ยวกับ การให้เงินกู้ของสหกรณ์กับพฤติกรรมการกู้ยืมเงินของสมาชิกสหกรณ์ ด้านความเพียงพอของวงเงินกู้ งวดชำระหนี้เงินกู้ วัตถุประสงค์ของการให้เงินกู้และระเบียบการให้เงินกู้ ทั้งเงินกู้เพื่อเหตุฉุกเฉิน เงินกู้สามัญ และเงินกู้พิเศษ โดยรวมเห็นว่า มีความเหมาะสมในระดับมากทุกด้าน ยกเว้น วงเงินกู้เพื่อเหตุฉุกเฉินมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง 5) ปัญหาและ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของสมาชิกสหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์ควรขยายวงเงินกู้เพื่อเหตุฉุกเฉิน และ เงินกู้สามัญ ควรศึกษาความต้องการของสมาชิกในการให้บริการด้านสินเชื้อของสหกรณ์ ควรลดดอกเบี้ยเงินกู้และหาแนวทาง แก้ไขเร่งรัดหนี้จากสมาชิกที่ถึงกำหนดชำระ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช--สมาชิก | th_TH |
dc.subject | การกู้ยืม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สหกรณ์ | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการกู้ยืมเงินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช จำกัด | th_TH |
dc.title.alternative | Members' loan behaviors of Nakhon Si Thammarat Public Health Savings Cooperatives Limited | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) the demographic characteristics of members of the Nakhon Si Thammarat Province Public Health Savings Cooperative Limited; 2) their economic status; 3) their money borrowing behavior; 4) their opinions about the cooperative’s lending services; and 5) related problems and recommendations. The study population consisted of the 3,661 members of Nakhon Si Thammarat Province Public Health Savings Cooperative Limited, out of which a sample population of 361 was selected for the study using the Taro Yamane method. The data collection tool was a questionnaire that was administered using the accidental method. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis. The results showed that 1) the majority of samples was female, age under 44, educated to bachelor’s degree level, married, working in academic work, and had been a member of the cooperative for more than 10 years. 2) The samples reported mean income in the range of 30,001 – 40,000 baht a month, household expenses of 10,001-20,000 baht a month, and average debt owed to the cooperative of 1.5 – 2 million baht. 3) As for borrowing behavior, for emergency loans, 52.4% of the samples had taken out emergency loans from the cooperative of the amount 70,001 baht or more, 56% reported that they used the money for personal expenses, and 38.2% had used the emergency loan service once a year. For the ordinary loan service, 56.5% said they had used the service for the amount of 1.5-2 million baht, 48.5% said it was for living expenses, and 71.5% reported using it one time per year. As for the special loan service, 90.6% said they had never used it. 4) When asked to rate their opinion of the appropriateness of the cooperative’s emergency, ordinary and special loan services, the mean approval rating was “high” for the following: amount of loans available, time schedule for repayment, purposes for which loans were available, and the cooperative’s rules on loans; except for the emergency loan service, the mean approval rating for amount of loans available was “medium” 5) Members gave the recommendations that the cooperative should offer a higher amount for emergency and ordinary loans, should make a study of its members’ loan needs, should reduce the interest rates, and should find more effective ways to hasten loan collection. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_146738.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License