Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐth_TH
dc.contributor.authorกายสิทธิ์ แก้วยาศรี, 2506- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T05:10:45Z-
dc.date.available2022-08-10T05:10:45Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/389-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 255th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความรับผิดทางละเมิดตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 (2) ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบความรับผิดทางวินัยฐานประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ.2551 กับองค์ประกอบความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่โดยประมาทเลินเล่อ ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 (3) ความสัมพันธ์ความรับผิดทางวินัยฐานประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ในกรณีที่ได้กระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่โดยประมาทเลินเล่อตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 (4) แนวทางในการบังคับใช้กฎหมายและการดำเนินการทางวินัยกับข้าราชการพลเรือนสามัญผู้กระทำละเมิดอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายด้วยวิธีการเชิงคุณภาพ โดยสังเคราะห์ข้อมูลจากหนังสือ บทความ งานวิจัย คู่มือ ตำรา หนังสือตอบข้อหารือของสำนักงาน ก.พ. แนวทางการดำเนินการทางวินัย และการลงโทษทางวินัย และความรับผิดทางละเมิดของของเจ้าหน้าที่ การวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของความผิดวินัยฐานประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการกับความผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่โดยประมาทเลินเล่อมีความสัมพันธ์กัน แต่ส่วนที่แตกต่างกันคือ ความเสียหาย ของราชการทางวินัยจะครอบคลุมกว้างกว่าความเสียหายทางละเมิดเพราะรวมถึงความเสียหายต่อระบบงาน และความเชื่อถือของประชาชนที่มีต่อทางราชการด้วย และจำนวนความเสียหายทางวินัยอาจไม่ใช่จำนวนเดียวกันกับความเสียหายทางละเมิดในการกระทำครั้งเดียวกันส่วนระดับความร้ายแรงของความรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่จะขึ้นอยู่กับระดับความประมาทเลินเล่อ แต่ระดับความร้ายแรงของความรับผิดทางวินัยจะขึ้นอยู่กับระดับความเสียหายของทางราชการที่เป็นผลโดยตรงจากการกระทำผิดวินัยแต่อาจถือเป็นเหตุลดหย่อนโทษวินัยถ้าได้บรรเทาความเสียหายแก่ทางราชการก่อนการสอบสวนวินัยเสร็จสิ้นดังนั้น เมื่อข้าราชการพลเรือนสามัญกระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่โดยประมาทเลินเล่อไม่ว่าโดยการประมาทเลินเล่อธรรมดาหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ย่อมถือว่ามีมูลความผิดวินัยฐานประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการที่จะต้องดำเนินการและอาจต้องรับผิดวินัยอีกทางหนึ่ง โดยไม่ถือเป็นการลงโทษซ้าในการกระทำผิดครั้งเดียวกัน สำหรับการแก้ไขปัญหาความไม่ชัดเจน ว่าจะต้องดำเนินการทางวินัยกับข้าราชการพลเรือนสามัญฐานประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการอันมีสาเหตุจากการกระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่อย่างไรนั้น คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ควรเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อมีมติกำหนดแนวในเรื่องดังกล่าวให้ส่วนราชการถือปฏิบัติเป็นแนวเดียวกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14456/humsu.2017.2en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความรับผิด (กฎหมาย)th_TH
dc.subjectความประมาทเลินเล่อth_TH
dc.subjectข้าราชการพลเรือน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดทางวินัยฐานประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการกับความรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่โดยประมาทเลินเล่อของข้าราชการพลเรือนสามัญth_TH
dc.title.alternativeThe problems of relationship between the disciplinary liability based on official duties negligence and the tort liability when official duties negligence in Civil Servantsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14456/humsu.2017.2en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study (1) the tort liability depend on the civil service act B.E.2551 (2008) and the tort liability act B.E.2539(1996), ( 2) the relationship between the disciplinary liability based on official duties negligence according to the civil service act B.E.2551 (2008) and the tort liability of officers on duty negligence according to the tort liability act B.E.2539 (3) the relationship between the disciplinary liability when the official duties negligence in case of tort liability act B.E.2539 (1996), and (4)ascertain the guideline of the law enforcement and disciplinary action of civil servant who tort by equality and equity This research was legal research by qualitative methodology. The data synthesized from books, articles, research, manual, the discussion of OCSC, the guideline of disciplinary action, the decision of the considered civil liability board, judgments of the court and the other law that related The results reveal that the composition in disciplinary offense negligence of official duties and the composition in the tort of duty negligence were related. The differences were the disciplinary offense negligence cover wider than the tort of official duties. Because of the disciplinary offense negligence cover the damage of the government system and the citizen’s trust. The amount of damage might be or might be not equal when the civil servant who negligence on the official duty in one time. The severity of tort depended on level of negligence but the severity of the disciplinary offense depended on the level of government damages and direct result by the civil servant who made liable. When the civil servant compensation to the government, before the disciplinary investigation was completed, it could reduce the level of punishment. When the civil servant made tort in official duties, either ordinary negligence or gross negligence, it must have been disciplinary offense and liable to discipline. The disciplinary punishment was not repeating the same offence again. The problem solving of disciplinary proceedings was not obvious when the civil servant who was tort by duties negligence. The civil service commission should have been propose the cabinet to established guideline for determined in case of negligence in official duties. The government agency must have been considered in the same wayen_US
dc.contributor.coadvisorเอกศักดิ์ ตรีกรุณาสวัสดิ์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdf5.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons