Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3902
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ ปิติยาศักดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุษรา วาทีรักษ์, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T06:07:58Z-
dc.date.available2023-03-09T06:07:58Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3902-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความเป็นมาแนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเล ศึกษาถึงสภาพปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการทรัพยากรทาง ทะเล ศึกษากฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล วิเคราะห์มาตรการทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558 มาตรการเกี่ยวกับกฎมายต่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ และศึกษาถึงแนวทางแก้ไข เพิ่มเติม ในการเสนอแนะแก้ไขกฎหมายที่ใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล: พระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาและค้นคว้าแบบวิจัยเอกสาร โดยเน้นวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผู้เขียนได้ทำการศึกษา ค้นคว้า และเก็บรวบรวมข้อมูลจากตำรากฎหมาย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ งานวิจัย หนังสือ เอกสารทางวิชาการ บทความ และข้อมูลจากเว็บไซต์ ประกอบกับการสัมภาษณ์เชิงลึก เพื่อเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ปัญหา สรุปและหาข้อเสนอแนะ เพื่อนำมาประมวลผล และวิเคราะห์ หาวิธีการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ผลการศึกษา พบว่าหลังจากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ได้บังคับใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พุทธศักราช 2558 แล้ว ยังมีปัญหา ทางกฎหมายอยู่บางประการ อย่างเช่น การที่พระราชบัญญัติไม่กำหนดจำนวนขั้นตํ่าของผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งแห่งชาติไว้ ทำให้เกิดปัญหาในการประชุม เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ (มาตรา 5 ) อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ยังไม่สมบูรณ์ (มาตรา 24) เป็นต้น ซึ่งผู้วิจัยมีความเห็นว่ายังบกพร่อง หากมีการแก้ไขหรือเพิ่มเติมข้อบกพร่องเหล่านั้น ส่งผลต่อการบริหารจัดการทรัพยากรในเชิงนโยบายและทำให้การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ยังผลให้ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเกิดความสมบูรณ์ มั่งคั่ง และยั่งยืนสืบไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558th_TH
dc.subjectทรัพยากรทะเล--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการจัดการเขตชายฝั่ง--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนและมาตรการทางกฎหมาย: ศึกษากรณีพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ.2558th_TH
dc.title.alternativePublic participation and legal process: a case study of the promotion of marine and coastal resources management act, B.E. 2558 (2015 A.D.)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe independent study project were to 1) study background, concepts and theories regarding management of marine resources; 2) study problems derived from management of marine resources; 3) study laws and regulations related to the management of marine resources; 4) analyze the legal processes pursuant to the Promotion of Marine and Coastal Resources Management Act, B.E. 2558 (2015 A.D.), the laws of foreign jurisdictions, and international law; and 5) study methods for proposing revisions or addendums to the laws used in the management of marine resources, namely, the Promotion of Marine and Coastal Resources Management Act, B.E. 2558 (2015 A.D.). This independent study was a study and research project of the documentary research type by emphasizing the qualitative research method. The author studied, researched, and collected information from legal textbooks, theses, research papers, academic books and papers, websites, and in-depth interviews. The information obtained from the aforementioned sources was used to analyze problems, to create a summary and recommendations, to perform an assessment, and to analyze for the purpose of discovering a method to revise the laws related to the management of marine and coastal resources. Study results showed that after the Department of Marine and Coastal Resources implemented the Promotion of Marine and Coastal Resources Management Act, B.E. 2558 (2015 A.D.), there were still some legal issues. For example, Section 5 of the Act does not specify the minimum number of professionally qualified members required on the National Marine and Coastal Resources Management Policy and Planning Committee, which caused problems at meetings. There were also issues regarding the authority of officials whose status is defective or incomplete according to Section 24 of the Act. The author is of an opinion that there are defects in the act. Correcting the aforementioned deficiencies by amendment or addendum will have a positive effect on the management of resources at the policy level and will, furthermore, allow officials of the Department of Marine and Coastal Resources, as well as related officials, to perform their duties with greater efficiency. It will also ensure the completeness, stability, and sustainability of marine and coastal resources in perpetuityen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons