Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมใจ วิจารณ์จักร, 2502--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-09T07:08:54Z-
dc.date.available2023-03-09T07:08:54Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3910-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสหกรณ์การเกษตรบรบือ จำกัด ในเร่ือง 1) สภาพทั่วไปของ สมาชิกสหกรณ์ผู้ปลูกข้าวหอมมะลิ 2) วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิตข้าวหอมมะลิของสมาชิกสหกรณ์ 3) วิเคราะห์ประสิทธิภาพในการผลิตข้าวหอมมะลิของสมาชิกสหกรณ์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ สมาชิกสหกรณ์การเกษตรบรบือ จำกดั จังหว้ดมหาสารคาม สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยเลือกสมาชิกสหกรณ์ในตำบลหนองสิม อำเภอบรบือ โดยสุ่มแบบเจาะจง สมาชิกสหกรณ์ในฐานะผู้ผลิต จำนวน 40 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยของข้อมูล และกากระจายข้อ มูล และวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตทางเทคนิค โดยประมาณการฟังก์ชั่น การผลิตแบบ Cobb-Douglas Production Function แล้วใช้วิธีการวัดประสิทธิภาพการผลิตโดยอาศัยแบบจำลอง Stochastic Forntier Production ผลการศึกษาพบว่า 1) สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 61 ปี จบการศึกษาประถมศึกษาปีที่ 4 ส่วนใหญ่สมาชิกสหกรณ์ จะเป็นเจัา ของและมีส่วนน้อยที่เช่าทำนา 2) ต้น ทุนและผลตอบแทนจากการผลิต ข้าวหอมมะลิ มีต้นทุนการผลิต 1,744.87 บาท/ไร่ ผลตอบแทน 3,038.60 บาท/ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ จำนวน 1,293.73 บาท/ไร่ ผลผลิตที่สมาชิกสหกรณ์สามารถผลิตได้อยู่ระหว่าง 201 – 300 กิโลกรัม/ไร่ 3) ประสิทธิ ภาพในการผลิตข้าวหอมมะลิโดยเฉลี่ยในแต่ละรายจะมีระดับ อยู่ที่ 1.0080 แสดงให้เห็นว่า สมาชิกสหกรณ์มีประสิทธิภาพการผลิตปานกลาง ค่าสัมประสิทธิ์ของปัจจัย การผลิตทุกตัว มีค่าเท่ากับ 1.0798 ชี้ให้เห็นว่าผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตเพิ่มขึ้น ควรมีการส่งเสริมและเผยแพร่ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สมาชิกสหกรณ์ใช้เป็นแนวทางในการผลิตขัา วที่ได้คุณภาพและมีประสิทธิภาพในการผลิตข้าวหอมมะลิth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสหกรณ์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าวหอมมะลิ--การผลิต--ไทย--มหาสารคามth_TH
dc.titleการวัดประสิทธิภาพการผลิตข้าวหอมมะลิของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบรบือ จำกัด จังหวัดมหาสารคาม ปีการเพาะปลูก 2556/2557th_TH
dc.title.alternativeThe efficiency measurement of Hom Mali rice production of Borabue Agricultural Cooperatives Ltd. members in Mahasarakham Province of 2014/2015 Crop Yearth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สหกรณ์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the following about Borabue Agricultural Cooperative Ltd.: 1) the general status of cooperative members who grow Hom Mali rice; 2) their costs and returns from growing rice; and 3) the efficiency of their rice production. The sample population, chosen through purposive sampling, consisted of 40 members of Borabue Agricultural Cooperative Ltd. who lived in Nong Sim Sub- district and produced Hom Mali rice. The data were analyzed using percentage, mean and distribution. The technical efficiency of rice production was measured by estimating the Cobb-Douglas Production Functions and using the Stochastic Forntier Production method. The results showed that 1) the majority of samples were female, age over 61, educated to primary school level, and owned their own land. 2) The sample members had average rice production costs of 1,744.87 baht per rai and average rice production returns of 3,038.60 baht per 1,600 m2, or net returns of 1,293.73 baht per rai. Their average yield was in the range 201-300 kg/rai. 3) The average production efficiency of the samples came out to 1.0080, which means medium efficiency. The coefficient of all factors of production was 1.0798, which indicates that the rice farmers’ returns per size of production were increasing. Efforts should be made to distribute information in order to promote greater efficiency and quality in rice production among cooperative members.-
Appears in Collections:Agri-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_148492.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons