Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3925
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | พงศ์วุฒิ ธงทอง, 2513- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-09T09:02:26Z | - |
dc.date.available | 2023-03-09T09:02:26Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3925 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง ปัญหาการบังคับคดีกรณีคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงแนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับมาตรการบังคับทางปกครองตามกฎหมายของต่างประเทศ (2) ศึกษาการบังคับทางปกครองตามกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองของไทย (3) วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการบังคับตามมาตรการบังคับทางปกครองกรณีคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงิน (4) หาแนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบังคับตามมาตรการบังคับทางปกครองกรณีคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร จากการศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ได้แก่ บทบัญญัติของกฎหมาย ตำรา บทความของผู้ทรงคุณวุฒิ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า หน่วยงานของรัฐจำนวนมากไม่สามารถดำเนินการใช้มาตรการบังคับทางปกครองโดยวิธีการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ถูกคำสั่งเรียกให้ชำระเงินได้ เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และกระบวนการของการบังคับทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินไว้ เพียงแต่กำหนดให้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งโดยอนุโลมเท่านั้น ทำให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐนั้นมีความยากลำบากในการดำเนินการ กรณีปัญหาดังกล่าวมีแนวทางแก้ไขปัญหาอีกทางหนึ่ง คือ ควรให้หน่วยงานสามารถมอบอำนาจการใช้มาตรการบังคับทางปกครองในการยึด อายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์สินให้แก่หน่วยงานของรัฐอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการบังคับ คดี เช่น กรมบังคับคดี ดำเนินการแทนได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การบังคับคดี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | ปัญหาการบังคับคดีกรณีคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 | th_TH |
dc.title.alternative | Problems of enforcement of administrative orders to make payments under the administrative procedure Act, B.E.2539 (1996) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent research on problems of enforcement of administrative orders to make payments under the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (1996) aims to: 1) study concepts and principles of administrative enforcement according to foreign laws; 2) study administrative enforcement according to administrative procedure in Thailand; 3) analyze problems of enforcement of administrative orders to make payments; 4) find solutions and recommendations of enforcement of administrative orders to make payments under the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (1996). In this independent study, which is a qualitative research, legal documents were studied and data from provisions of laws, textbooks, articles, thesis, reports and other related documents were analyzed. It was found that many government agencies could not enforce administrative measures by seizing or auctioning off properties of debtors because the Administrative Procedure Act, B.E. 2539 (1996) did not provide procedure and processes of enforcement of administrative orders to make payments. It only stipulated that civil procedure should be applied mutatis mutandis. Therefore, government officers found it difficult to perform their duties. One solution to this problem is to authorize government agencies in order to transfer their power such as seizing and auctioning off properties to other government agencies that specialize in enforcement such as the Legal Execution Department | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License