Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรองแก้ว รัตนจีนะ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T02:26:25Z-
dc.date.available2023-03-10T02:26:25Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3931-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุขในโรงพยาบาลของรัฐบาลเขตจังหวัดนนทบุรี 2) ศึกษาระดับความสำคัญ ของปัจจัยด้านนโยบายและการบริหารงาน ด้านความกัาวหน้าในงาน ด้าน ความพอใจในงาน ด้าน สภาพแวดล้อมในการทำงาน ทึ่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 3) เปรียบเทียบปัจจัยทึ่มีผลต่อ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 4) นำเสนอแนวทางการสรัางเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุขในโรงพยาบาลของรัฐบาลเขตจังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในโรงพยาบาล ของรัฐบาลเขตจังหวัดนนทบุรี ที่เป็นหัวหน้างานจำนวน 103 คน ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน 242 คน รวมจำนวน 345 คน ชึ่งได้จากการคำนวณใช้ค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05 ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมึอทึ่ใช้รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ชื่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ได้ค่าความเชื่อมั่นด้านระดับประสิทธิภาพ เท่ากับ 0.9207 ด้านปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพเท่ากับ 0.762 สถิติทึ่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูลคือรัอยละ ค่าความถี่ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการทดสอบค่า สัมประสิทธิสหสัมพันธ์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับประสิทธิภาพของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขใน โรงพยาบาลของรัฐบาลเขตจังหวัดนนทบุรีมีระดับประสิทธิภาพมาก (X = 3.77) 2) ในภาพรวมของ บุคลากรมีความคิดเห็นว่านโยบายและการบริหารงาน ความกัาวหน้าในงาน ความพอใจในงาน สภาพแวดล้อมในองค์กร เป็นปัจจัยทึ่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับปานกลาง (X = 3.31 ) 37ปัจจัยด้านความพอใจในงาน มีผลต่อประสิทธิภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับอัลฟา 0.05 4) ระดับเงินเดือนและระดับตำแหน่งมีผลต่อระดับประสิทธิภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับอัลฟา 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ในโรงพยาบาลของรัฐบาลเขตจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting performance efficiency of public health personnel in Government Hospital, Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were four - fold (1) to study the level of performance effectiveness of the public health personnel in government hospitals, Nonthaburi Province (2) to study the level of efficiency of the following factors; policy and management, career path, job attitude and job climate which affected performance effectiveness (3) to compare the factors which affect to performance effectiveness and (4) to propose the guideline of the performance effectiveness promoting of the public health personnel in the government hospitals, Nonthaburi province The total sample in the research were 345 public health personnel ,103 of the chief level and 242 of the operation level of the government hospitals in Nonthaburi Province, The sample was selected by simple random sampling at the 95% statistical confidence level. The data collection tool was questionnaire which was developed at 0.9207 of effectiveness confidence level, 0.7626 of affecting factor to effectiveness. The data were analyze by percentage, frequency, mean, standard deviation, T-test, ANOVA and correlation by application software. Major research findings indicated that (1) The level of performance effectiveness of the public health personnel in the government hospitals in Nonthaburi was at the high level (x = 3.77) ( 2) most public health personnel opinioned that the policy and management, career path, job attitude and job climate had affected performance effectiveness at the medium level Tx - 3.31), (3) the job attitude factor had significantly affected to performance effectiveness at the 95 % statistical confidence level (p-value 0.05), (4) Salary and job position had significantly affected performance effectiveness at the 95 % statistical confidence level (p-value 0.05)en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
102068.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons