Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิลัยภรณ์ ปิ่นทะวงค์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T07:36:48Z-
dc.date.available2023-03-10T07:36:48Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3944-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บทบาทในการจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตอำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ และ (2) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน เขตอำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการครูของรัฐในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตอำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 230 คน สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบมีระบบเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่า และแบบสอบถามปลายเปิด มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาพบว่า (1) บทบาทในการจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน เขตอำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยภาพรวมผู้บริหารมีบทบาทอยู่ในระดับปานกลาง เพื่อพิจารณาบทบาทตามขั้นตอนของการจัดการความรู้ พบว่า ผู้บริหารมีบทบาทอยู่ในระดับมาก 5 ขั้นตอน เรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ ขั้นตอนการประมวลและกลั่นกรองความรู้ ขั้นตอนการบ่งชี้ความรู้ ขั้นตอนการจัดความรู้ให้เป็นระบบขั้นตอนการเรียนรู้ และขั้นตอน การสร้างและแสวงหาความรู้ตามลำดับ ส่วนบทบาท ที่ผู้บริหารดำเนินการในระดับปานกลางมี 3 ขั้นตอนเรียงจากมากไปน้อย คือ ขั้นตอนการประเมินผล ขั้นตอนการแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และขั้นตอนการเข้าถึงความรู้ตามลำดับ และ(2) ปัญหาใน การจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเขตอำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้แก่ขาดการสร้างและแสวงหาความรู้ที่มากเพียงพอ ขาดช่องทางการเข้าถึงความรู้ ขาดบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และขาดการจัดระบบการจัดการความรู้ที่ต่อเนื่อง โดยมีข้อเสนอแนะให้ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สนับสนุนงบประมาณเพื่อการแสวงหาความรู้ของบุคลากรให้มากขึ้น ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเพื่อนร่วมงานให้มากขึ้น ปรับปรุงระบบการจัดการความรู้ให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และสร้างระบบกลไกให้บุคลากรสามารถเข้าถึงความรู้ได้สะดวกขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--การบริหาร.--ไทย--เพชรบูรณ์th_TH
dc.titleบทบาทในการจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตอำเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeThe roles of school administrators in knowledge management of primary schools in Bung Samphan District, Phetchabun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the roles of school administrators in knowledge management of primary schools in Bung Samphan district, Phetchabun province: and (2) to study the problems and suggestions on the roles of school administrators in knowledge management of primary schools in Bung Samphan district. Phetchabun province. The research sample consisted of 230 personnel of primary schools in Bung Samphan district, Phetchabun province, obtained by systematic random sampling. The employed research instrument was a rating scale and open ended questionnaire with the whole questionnaire reliability coefficient of .95. Statistics for data analysis included the frequency, percentage, mean, and standard deviation. Research finding revealed that (1) regarding the roles in knowledge management of primary school administrators in Bung Samphan district. Phetchabun province, their overall role was rated at the moderate level; when their roles based on the steps for knowledge management were considered, it was found that their roles were at the high level in five steps and could be ranked from high to low as follows: the step of knowledge processing and screening, the step of knowledge identification, the step of systematic management of knowledge, the step of knowledge learning, and the step of knowledge construction and searching, respectively; while their roles that were at the moderate level were in the three steps that could be ranked from high to low as follows: the step of knowledge assessment, the step of knowledge sharing and exchange, and the step of access to knowledge, respectively; and (2) the problems in knowledge management of primary school administrators in Bung Samphan district. Phetchabun province were the following: the insufficiency of knowledge construction and searching, the lack of access to knowledge, the lack of knowledge exchange atmosphere, and the lack of knowledge management system on a continuing basis; while the suggested actions for the administrators to take were the following: the allocation of more budget for knowledge acquisition of the school personnel, the promotion for more knowledge exchange among colleagues, the continuous improvement of knowledge management system, and the creation of mechanism for the personnel to gain access to knowledge more conveniently.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_128692.pdf14.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons