Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิไลวรรณ สนธิเทศ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T07:56:34Z-
dc.date.available2023-03-10T07:56:34Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3947-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารการพัฒนาตามแนวทาง คุณธรรมระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านอิฐกับองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแห ในจังหวัดอ่างทอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ (1) การมีส่วนร่วมของประชาชน (2) ปัญหา (3) แนวทางการพัฒนา และ (4) ภาพรวมแนวโน้มการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารการพัฒนาตามแนวทางคุณธรรมระหว่าง องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านอิฐกับองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแห ในจังหวัดอ่างทอง โดยนำการบริหารการ พัฒนาตามแนวทางคุณธรรม ซึ่งประกอบด้วย 10 ด้าน ได้แก่ การรักษาความสัจ การรู้จักข่มใจตนเอง ความอดทน การละความชั่ว การเสืยสละ ความเมตตา ความสามัคคี ความสุจริต ความเที่ยงธรรม และการส่งเสริมคนดีมาเป็น กรอบแนวคิดในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการ ทดสอบหาความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.84 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนใน องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านอิฐและองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแห มีจำนวน 1,067 คน การเก็บรวบรวม ข้อมูลสนามดำเนินการระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2550 ถึง วันที่ 15 กันยายน 2550 เก็บแบบสอบถามกลับคืนมา จำนวน 915 คน คิดเป็นร้อยละ 85.75 ของแบบสอบถานที่แจกออกไปทั้งหมด (1,067 คน) สำหรับสถิตที่ใช้ คือ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาปรากฎว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า (1) ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการบริหารการพัฒนาตามแนวทางคุณธรรมในองค์การบริหารส่วนตำบลทั้ง 2 แห่ง และ (2) ในภาพรวมการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารการพัฒนาตามแนวทางคุณธรรมในองค์การบริหารส่วนตำบล ทั้ง 2 แห่ง ในอนาคตมีแนวโน้มสูงกว่าในปัจจุบัน สำหรับปัญหาที่สำคัญขององค์การบริหารส่วนทั้ง 2 แห่ง คือ การไม่ได้ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามาตรวจสอบพนักงานส่วนตำบลเรื่องการยึดมั่นในกฎกติกาและระเบียบแบบแผน ส่วนแนวทางการพัฒนาที่สำคัญ คือ องค์การบริหารส่วนตำบล ทั้ง 2 แห่ง ควรพัฒนาหรือฝึกอบรมผู้บริหารทุกระดับ ในเรื่องการมีจิตใจหรือจิตสำนึกที่สนับสนุนการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบ การบริหารการพัฒนาตามแนวทางคุณธรรม รวมทั้งควรสนับสนุนให้หน่วยงานภายนอก เช่น สถาบันการศึกษา และสื่อมวลชน รวมทั้งประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบผู้บริหารทุกระดับอย่างต่อเนื่องด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.9-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านอิฐ--การบริหาร--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแห--การบริหาร--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารการพัฒนา ตามแนวทางคุณธรรมระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านอิฐ กับองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหในจังหวัดอ่างทองth_TH
dc.title.alternativeThe comparison of people participation in development administration between the Ban Hae and Ban-it Subdistrict Administrative Organizations in Angthong Province according to the morality guidelineth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.9-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารรัฐกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to compare (1) people participation, (2) problems, and (3) procedures of development of people participation in development administration according to the Morality Guideline between the Ban Hae and Ban-it Subdistrict Administrative Organizations in Angthong Province. The morality guideline consisted of 10 factors: keeping the promise, self-restraint, tolerance, refraining from doing bad deeds, sacrifice, kindness, unity, honesty, justification, and supporting good person, was used as conceptual framework in the study. This research was a survey research using questionnaire that had been passed pretest including the checks of validity and reliability at the statistical significant level of 0.84. Samples of 1,067 consisted of local residents of the Ban-it and Ban Hae Subdistrict Administrative Organizations in Angthong Province. The questionnaires were collected at the amount of 915 (85.75%). Computer and statistics of percentage, mean, standard deviation, and t-test were applied for data analysis. According to the opinions of the samples, the research results appeared that (I) people participation in the development administration according to the Morality Guideline of both organizations was at the moderate level; (2) Important problem of both organizations was lacking of giving people opportunities to check their the Subdistrict Administrative Organization’s officials in complying with laws and regulations; and (3) the main procedure of development of both organizations was they should develop or train their executives at all levels relating to their spirits or awareness to support people participation in checking their organizations’ development administration according to the Morality Guideline.In addition, both organizations should support continuously the participation of outside organizations of academic institutions and mass media organizationsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105448.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons