กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3950
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวีรภัทร์ สุขไชย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-10T08:39:48Z-
dc.date.available2023-03-10T08:39:48Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3950-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการปฏิบัติหน้าที่ ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของประชาชน ในการปฎบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน และ (3) เปรียบเทึยบความพึงพอใจ ของประชาชนในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ รายได้ และลักษณะการใช้บริการกับเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ตำรวจภูธร อำเภอเมืองน่าน ประชากรในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนพี่มีภูมิลำเนาและพักอาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมืองน่าน จังหวัค น่าน จำนวน 80,778 คน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่มีภูมิลำเนาและพักอาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมือง น่าน จังหวัดน่าน จำนวน 400 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครึ่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม ซึ่งเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่าของลิเคอร์ท มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .94 สถิตที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ เพียร์สันการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณการทดสอบค่า t และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน ในด้านความทันเวลา ด้านความเสมอภาค ด้านความต่อเนึ๋อง ด้านความกัาวหน้า ด้าน ความสะดวก ด้านผู้ใช้บริการ ด้านคุณภาพการบริการ ด้านข้อมูล ด้านวัสดุอุปกรณ์ และด้านสถานที่ อยู่ในระดับ มาก (2) ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของประชาชนในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ สถานี ตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน มีเพึยง 1 ปัจจัย คือปัจจัยด้านคุณภาพการบริการ โดยส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 (3) ประชาชนที่เป็นเพศชาย อายุ 51 ปืขึ้นไป สถานภาพสมรส และเคยใช้บริการกับเจ้าหน้าที่ตำรวจสาย ตรวจ ตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน ในสถานะพยานและสถานะอื่นๆ มีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ เจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่าน ในระดับสูงกว่า ประชาชนเพศหญิง อายูตํ่ากว่า 51 ปี สถานภาพโสด หย่าและหม้าย และเคยใช้บริการในสถานะผู้กล่าวหา ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา โดยส่งผลอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนระดับการศึกษาอาชีพและรายได้ มีผลต่อความพึงพอใจไม่ต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.243-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectตำรวจสายตรวจ--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของประชาชนในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ตำรวจภูธรอำเภอเมืองน่านth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting people's satisfaction towards performance of Patrol Police of Mueang Nan District Policeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.243-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research had the purposes to (1) study the level of satisfaction of the people with the work of the patrol police, Mueang Nan District Police (2) study the factors affecting the satisfaction of the people with the work of the patrol police, Mueang Nan District Police and (3) compare (find the relationship between) the satisfaction of the people with the work of the patrol police, Mueang Nan District Police with the People’s sex, age, educational level, marital status, occupation, income, level and service type with patrol police, Mueang Nan District Police. The research sample was 400 people registered and lived in Mueang Nan District, Nan Province using multiple random sampling methods. The tool used in the collection of the data was a questionnaire of the factors affecting the satisfaction of the people with the work of the patrol police, Mueang Nan District Police which was a Likert Scale with the Confidence Value of .94. The statistics used in the data analysis were percentage, frequencies, mean, standard deviation, Pearson Multiple Correlation, Multiple Regression Analysis and the One Way ANOVA. The results of the research found that (1) the people were satisfied with the work of the patrol police of Mueang Nan District Police for the timeliness, equality, continuity, progress, convenience, service users, quality of the service, information, materials and place at the level of High (2) only one factor affecting the satisfaction of the people with the work of the patrol police, Mueang Nan District Police which was the quality of sendee with significant level of statistics at .05. (3) people age over 51, male, married and had used the service of the patrol police, Mueang Nan District Police in the status of witness or other status were satisfied with the work of the patrol police, Mueang Nan District Police at the level of High with significant level of statistics at .05 while the educational level, occupation and income level related insignificantly with the people’s satisfactionen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
105532.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons