Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3979
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฉวีวรรณ พรมวัง, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T07:58:30Z-
dc.date.available2023-03-11T07:58:30Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/3979-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานพื้นบ้านไทยแสก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดนครพนม และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสือ อ่านเพิ่มเติมที่สร้างขึ้น กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ 3 คน และนักเรียนโรงเรียนตาลราษฎร์อุทิศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 คน ซึ่งได้จากการเลือกแบบเซาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานพื้นบ้านไทยแสก ที่สร้างขึ้น แบบประเมินคุณภาพหนังสืออ่าน เพิ่มเติม และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องนิทานพื้นบ้านไทยแสก สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดนครพนม ประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 14 เรื่อง ได้แก่ วายกับแข่ บาปไผบุญมัน หาบดีกว่าคอนนอนดีกว่านั่ง วายบักตูบตาบอด ท้าวเจ็ดหวดเจ็ดไห เชียงเมี่ยงตอน เอียนในฮังเซียงเมียงตอนอบเวียงจันทน์ ผีกองกอย หลวงพ่อกับเณรน้อย ดาวงัว กำพร้าชนตัว พ่อเฒ่ากับลูกเขย เสียสัตย์ทรัพย์หาย และนุ่งผ้าลายหมาเห่า โดยแต่ละเรื่องจะมีภาพประกอบ คำอธิบายศัพท์ และกิจกรรมท้ายเรื่อง (2) การตรวจสอบคุณภาพของหนังสือโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า หนังสือ อ่านเพิ่มเติมในภาพรวม มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.66-1.00 และ (3) นักเรียนมี ความคิดเห็นว่าคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectนิทานพื้นเมือง--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหมือ)th_TH
dc.subjectภาษาไทย--หนังสืออ่านประกอบth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่องนิทานพื้นบ้านไทยแสกสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านตาลราษฎร์อุทิศ จังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeConstruction of a supplementary reading entitled Thai folktales for Prathom Suksa VI students of Ban Tan Rat Uthit School in Nakhon Phanom Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were (1) to construct a supplementary reading entitled Thai Saik Folktales for Prathom Suksa VI students at Ban Tan Rat Uthit School in Nakhon Phanom province; and (2) to verify quality of the constructed supplementary reading. The sample consisted of three experts and 10 Prathom Suksa VI students at Ban Tan Rat Uthit School, all of which were purposively selected. The employed instruments for the study were the constructed supplementary reading entitled Thai Saek Folktales, a book quality assessment form, and a questionnaire on student’s opinions toward the supplementary reading. Statistics employed for data analysis were the mean and standard deviation. Findings of the study were that (1) the constructed supplementary reading entitled Thai Saik Folktales comprised 14 tales: Wai Kap Khae; Bap Phai Boon Man; Hap Di Kwa Khon Non Di Kwa Nang; Wai Bak Tup Ta Bot; Thaw Chet Huat Chet Hai; Siang Miang Ton Ian Nai Hang; Siang Miang Ton Hop Wiang Chan; Phi Kong Koi; Luang Pho Kap Nen Noi; Dao Ngua; Kamphra Chon Ngua; Pho Thao Kap Luk Khoey; Sia Sat Sap Hai; and Nung Pha Lai Ma Hao; each of the tales was completed with illustrations, vocabulary explanations, and end-of-tale activities; (2) results of quality verification of the reading by experts showed that the overall quality of the supplementary reading was appropriate as shown by the IOC’s of 0.66 - 1.00; and (3) the students had opinions that the overall quality of the supplementary reading was appropriate at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_143405.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons