Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวีรศักดิ์ ศรินนภากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมาลินี กำใจบุญ, 2515-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T06:35:31Z-
dc.date.available2022-08-10T06:35:31Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/400-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวทางและวิธีการการจัดการ การดูแลตนเองของพระสงฆ์อาพาธด้วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ (2) เสนอรูปแบบการจัดการ การดูแลตนเองที่ประสบความสำเร็จของพระสงฆ์อาพาธด้วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลสงฆ์ ผู้ให้ข้อมูล คือ พระสงฆ์อาพาธด้วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลสงฆ์ จำนวน 20 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจากผู้มีระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HbA1C) ≤ 6.5 % เป็นเวลา 4 ปี ย้อนหลังจากปี พ.ศ. 2555 – พ.ศ.2559 และไม่มีประวัติการนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างผ่านการตรวจความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าความตรง 0.93 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) แนวทางและวิธีการการจัดการดูแลตนเองของพระสงฆ์อาพาธฯ มี3 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) รับรู้ในการเป็นผู้ป่วยเบาหวาน รับรู้ถึงอาการและภาวะแทรกซ้อน โดยการศึกษาด้วยตนเอง และจากบุคลากรสาธารณสุข 2) มีเป้าหมายในการจัดการการดูแลตนเอง และ 3) มีวิธีการจัดการการดูแลตนเองครอบคลุมทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และ (2) รูปแบบ การจัดการการดูแลตนเองที่ประสบความสำเร็จของพระสงฆ์อาพาธ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยภายใน ซึ่งเป็นการจัดการดูแลตนเองของพระสงฆ์อาพาธตามหลักอริยสัจสี่ ได้แก่ การรับรู้ทุกข์ สาเหตุแห่งทุกข์ การดับทุกข์ และการปฏิบัติเพื่อพ้นจากทุกข์ ซึ่งประกอบด้วย การควบคุมอาหาร การออกกาลังกายสม่ำ เสมอ และการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง และ 2) ปัจจัยภายนอก ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุข สิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล วัด และชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.92-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเบาหวาน--ผู้ป่วย--การดูแลth_TH
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเองth_TH
dc.subjectพระสงฆ์th_TH
dc.titleการจัดการการดูแลตนเองของพระสงฆ์อาพาธด้วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลสงฆ์th_TH
dc.title.alternativeThe self-care management of Buddha Monks with type 2 diabetes mellitus at Diabetes Clinic in Priest Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.92-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study guidelines and approaches of self-care management by Buddhist monks with type 2 diabetes , and (2) to propose the success model of self-care management by monks at the diabetes clinic in Priest Hospital The key informants were twenty monks with type 2 diabetes mellitus who attended the diabetes clinic in Priest Hospital. They were selected by purposive sampling from the monks who had HbA1C ≤ 6.5% 4 years (2011 to 2016) and had no history of hospital admission with diabetes complications. The research tools composed a record form of personal data and semi-structures interview. Tools were verified by 5 experts, and CVI is 0.93. The data were analyzed by content analysis. The research findings were as follows. (1) Guidelines and approaches of self-care management by monks with type 2 diabetes included, 1) Perception to be diabetes patients, perception on diabetic signs and symptoms, as well as diabetic complications gained by themselves and other health care personnel, 2) Setting their goals of self-care management, and 3) Directing the self-management approaches on physical, mental, emotional, and spiritual aspects. (2) The success model of diabetic self-care management was composed of the internal factor which based on 4 Noble Truths, Suffering, the Origin of Suffering, the Extinction of Suffering, the path leading to the Extinction of Suffering, and these factor comprised controlling diet, doing exercise, and taking medicine continuously. External factors comprised health care personnel, and environment of hospital, temples, and communitiesen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 150598.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons