Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/401
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสงกรานต์ จอมศรี, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T06:41:05Z-
dc.date.available2022-08-10T06:41:05Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/401-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตลุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ปัจจัยการก่อกำเนิดพรรคเพื่อฟ้าดินและ 2. รูปแบบการดำเนินการของพรรคเพื่อฟ้าดิน การศึกษาวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใชัในการวิจัย 5 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มที่ร่วมริเริ่มก่อตั้งพรรค 2.คณะกรรมการบริหารพรรค 3.คณะกรรมการสาขาพรรค 4.ที่ปรึกษาพรรคและ 5.สมาชิกและคนทั่วไป รวมกลุ่มตัวอย่างจำนวน 29 คน โดยการเก็บข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและสังเกตการณ์กลุ่มตัวอย่าง นำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิชัยพบว่า (1) ปัจจัยการก่อตั้งพรรคเพื่อฟ้าดิน เกิดจากกลุ่มคนที่มีแนวคิดคล้ายกัน และกฎหมายให้สิทธิในการจัดตั้งพรรคการเมือง เมื่อสมณะ โพริรักษ์ ผู้นำสันติอโศกและชาวอโศก ได้ตก ลงใจรับพรรคสหกรณ์มาดำเนินการจากกลุ่ม ร.ต.อ.ดร.นิติภูมิ นวรัตน ซึ่งกลุ่มญาดิธรรมและผู้มาปฏิบัติ ธรรมกับสันติอโศกเข้าร่วมตกลงใจชัดตั้งพรรคและเป็นสมาชิกพรรค เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคเพื่อฟ้าดิน โครงสร้างพรรคเป็นไปตามกฎหมาย โดยกำหนดหลักการไร้ว่าผู้ที่จะเป็นสมาชิกพรรค จะต้องมีความ ตั้งใจที่จะลดละอบายมุข อุทิศทำงานเพื่อสังคมโดยไม่รับค่าตอบแทน มุ่งสร้างคนให้มีคุณธรรมเป็น รากฐานตามแนวดิดบุญนิยมซึ่งเป็นนโยบายหลักของพรรค (2) รูปแบบการดำเนินการของพรรคเพื่อฟ้า ดินนั้นมีการดำเนินการตามขั้นตอนของการจัดตั้งพรรคการเมืองตามกฎหมาย และกำหนดโครงสร้างของ พรรคตามกรอบกฎหมายเช่นเดียวกัน มีการจัดองค์กรพรรคและระบบกลไกการทำงานของพรรค มี ลักษณะดำเนินการในรูปแบบการเมืองควบคู่กับกิจกรรมของชุมชนชาวอโศกซึ่งมีความสัมพันธ์กับระบบ บุญนิยม กิจกรรมของพรรคและสาขาพรรคจะดำเนินควบคู่ไปกับกิจกรรมทางด้านการเกษตร เศรษฐกิจ ชุมชนของชุมชนชาวอโศก ไม่เน้นการโฆษณาหรือหาเสียงในการเลือกตั้ง และไม่มุ่งเน้นปริมาณจำนวน คนที่จะเข้าเป็นสมาชิกพรรค แต่จะคำนึงถึงผู้ที่จะเข้าร่วมทางการเมืองของพรรคที่มีคุณธรรม มีความเต็ม ใจ เข้าใจ ทำการคุนเคยและเรียนรู้ระเบียบธรรมเบียมของพรรค และมีการดำเนินการเลือกคณะกรรมการ บริหารพรรคเพื่อให้ทำหน้าที่บริหารดำเนินการกิจกรรมต่างๆของพรรคให้เป็นไปตามเป้าหมายหรือ ยุทธศาสตร์ที่พรรคได้วางแนวทางไร้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.105-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพรรคเพื่อฟ้าดินth_TH
dc.titleการก่อกำเนิดและการดำเนินการอยู่ของพรรคเพื่อฟ้าดินth_TH
dc.title.alternativeThe formation and the existence of the Heaven and Earth Partyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.105-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) factors that led to the emergence of the For Heaven and Earth Party; and 2) the form of the For Heaven and Earth Party’s operations. This was a qualitative research. The sample group of 29 key informants came from 5 groups: 1. founders of the For Heaven and Earth Party; 2. members of the party’s executive committee; 3. members of the party’s branch committees; 4. the party’s advisers; and 5. party members and members of the general public. Data were obtained from documentary research, structured interviews and observation. Data were analyzed by descriptive analysis. The major findings were: (1) The factors that led to the founding of the For Heaven and Earth Party were the existence of a group of people with similar views and the fact that they had the legal right to establish a political party. Samana Bodhirak, the leader of the Santi Asoke Buddhist Sect, and his followers agreed to take over the Cooperative Party from Police Captain Dr. Nitiphum Nawarat’s group; and a group of laypeople who were Santi Asoke adherents agreed to establish a political party and become members. The party’s name was changed to the “For Heaven and Earth Party.” The party’s structure is as stipulated by law. People who want to be party members must aspire to abstain from sin and temptation, dedicate themselves to working for society with no remuneration, and try to build people’s morals following the ideology of Bunniyom or “meritism,” which is the party’s central policy. (2) The party’s operations follow the steps for establishing a political party as set in the law, and the party’s structure is as set in the legal guidelines. The party’s organization and working mechanisms, and those of its branches, are organized as political activities to complement the Santi Asoke group’s other activities under the meritism ideology, such as ecological agriculture and community merit-based economic activities. There is no emphasis on advertising or pre-election campaigning. The party is not concerned about increasing the number of its members, but emphasizes the morality of its political representatives, who should strive to thoroughly study and understand the party’s rules and ideology. The party’s executive committee isen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140613.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons