Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4029
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรักษ์ อนะมานth_TH
dc.contributor.authorเทวีวรรณ การปลูก, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T23:22:34Z-
dc.date.available2023-03-11T23:22:34Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4029en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่องเล่า เรื่องเมืองโคราช สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบุญวัฒนา จังหวัดนครราชสีมา และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสือส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้น ศึกษาสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเรื่อง เล่าเรื่องเมืองโคราช แล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คนตรวจสอบคุณภาพหนังสือที่สร้างขึ้น เครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบ คือ แบบประเมินคุณภาพด้าน ต่างๆ ประกอบด้วยการประเมินด้านเนื้อหา ด้านการใช้ภาษา ด้านภาพประกอบ ด้านรูปเล่มและ การจัดรูปแบบ และด้านคุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ การวิเคราะห์ผลการตรวจสอบคุณภาพใช้ค่า ดัชนีความสอดคล้อง ต่อจากนั้นจึงให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 10 คน อ่านหนังสือ ดังกล่าวและตอบแบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ความ คิดเห็นของนักเรียนใช้การหาค่าเฉลี่ยของคะแนนจากมาตรประมาณค่า ผลการศึกษาพบว่า (1) หนังสือส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้นแต่งเป็นคำประพันธ์ ประเภทกาพย์ยานี 11 และกลอนสุภาพ มีเนื้อหาประกอบด้วย เนื้อเรื่องเกี่ยวกับเมืองนครราชสีมา จํานวน 5 เรื่อง คำอธิบายศัพท์ และกิจกรรมท้ายเรื่อง (2) ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นสอดคล้องกัน ว่า หนังสือส่งเสริมการอ่านมีความเหมาะสมทุกด้าน โดยค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ที่ระดับ 0.66 – 1.00 และ (3) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหนังสือส่งเสริมการอ่าน มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 4.48 ถึง 4.83 และมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.68 ซึ่งอยู่ในระดับเหมาะสม มากที่สุด สรุปได้ว่า หนังสือส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้นมีคุณภาพเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการส่งเสริมการอ่านth_TH
dc.subjectภาษาไทย--หนังสืออ่านประกอบth_TH
dc.subjectภาษาไทย--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.subjectหนังสืออ่านประกอบth_TH
dc.titleการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเรื่อง เล่าเรื่องเมืองโคราช สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบุญวัฒนา จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeConstruction of a Reading Enhancement Book Entitled Stories of Khorat Town for Mathayom Suksa II Students of Boonwattana School in Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to construct a reading enhancement book entitled Stories of Khorat Town for Mathayom Suksa II students of Boonwattana School in Nakhon Ratchasima province; and (2) to verify quality of the constructed reading enhancement book. The author constructed a reading enhancement book entitled Stories of Khorat Town then asked three experts to verify its quality. The instrument employed for quality verification was a quality assessment form on all aspects of the book, namely, the contents, the language usage, the illustration, the structure arrangement and appearance, and the value and usefulness of the book. Data on quality verification were analyzed with the index of concordance (IOC). After that, 10 Mathayom Suksa II students were asked to read the book and answer a 5-scale rating questionnaire asking their opinions toward the book. Data on the students’ opinions were analyzed using the rating mean. Findings of the study were that (1) the constructed reading enhancement book was written in the poetic forms of Kap Yani 11 and Klon 8; its contents comprised five stories on Nakhon Ratchasima Town, vocabulary explanations, and end-of-lesson activities; (2) the experts were in accord in their opinions that the reading enhancement book had appropriate quality in all aspects, as shown by the IOCs ranging from 0.66 – 1.00; and (3) the students’ rating means on the aspects of the reading enhancement book ranged from 4.48 to 4.83, and their overall rating mean was 4.68 which was at the most appropriate level; therefore, it could be concluded that the constructed reading enhancement book had quality at the most appropriate level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_138455.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons