Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4033
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีปth_TH
dc.contributor.authorนิศากร บริบูรณ์, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-11T23:51:28Z-
dc.date.available2023-03-11T23:51:28Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4033en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบมโนมติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดประสาทรังสฤษฎ์ จังหวัดปราจีนบุรี ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบ สืบเสาะหาความรู้ 7E เรื่องการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนวัด ประสาทรังสฤษฎ์ จังหวัดปราจีนบุรี จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียนจำนวน 18 คน ได้มาโดยการเลือกแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 7E เรื่องการ สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต แบบวัดมโนมติทางวิทยาศาสตร์ เรื่องการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้ ความถี่ ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่าความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดประสาทรังสฤษฎ์อยู่ในระดับที่คลาดเคลื่อน โดยพบว่าก่อนเรียนนักเรียนมีความเข้าใจมโนมติ ทางวิทยาศาสตร์ในระดับที่คลาดเคลื่อนทุกมโนมติ (ร้อยละ 5.56-33.33) หลังเรียนพบว่านักเรียนมีความ เข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ในระดับที่คลาดเคลื่อน 1 มโนมติ คือ มโนมติ เรื่องขั้นตอนการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในวัฏจักรชีวิตของแมลง (ร้อยละ 5.56) โดยความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนในระดับที่สมบูรณ์ พบว่าก่อนเรียนนักเรียนมีความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ในระดับที่ สมบูรณ์ 7 มโนมติ (ร้อยละ 5.56) ได้แก่ เรื่องหน้าที่และส่วนประกอบของดอก เรื่องการถ่ายละอองเรณู เรื่องการปฏิสนธิ เรื่องการเปลี่ยนแปลงของดอกหลังการปฏิสนธิ เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เรื่องการ สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ และเรื่องการนำความรู้เรื่องวัฏจักรชีวิตของแมลงไปใช้ประโยชน์ หลังเรียน พบว่านักเรียนมีความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ในระดับที่สมบูรณ์ มากกว่าร้อยละ 50.00 จำนวน 3 มโนมติ ได้แก่ เรื่องส่วนประกอบของเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย (ร้อยละ 55.56เรื่องการขยายพันธุ์พืช (ร้อย ละ 61.11) และเรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (ร้อยละ 55.56)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectการสืบพันธุ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E เรื่องการสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีต่อมโนมติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดประสาทรังสฤษฎิ์ จังหวัดปราจีนบุรีth_TH
dc.title.alternativeEffects of the 7E inquiry learning activities management in the topic of reproduction of living organisms on scientific concepts of Prathom Suksa V Students at Wat Prasat Rungsarit School in Prachin Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the scientific concepts of Prathom Suksa V students at Wat Pasat Rungsarit School in Prachin Buri province before and after learning under the 7E inquiry learning activities management in the topic of Reproduction of Living Organisms. The research sample consisted of 18 Prathom Suksa V students in an intact classroom of Wat Prasat Rungsarit School, Prachin Buri province, during the second semester of the academic year 2013, obtained by purposive sampling. The employed research instruments were the 7E inquiry learning activities management plans in the topic of Reproduction of Living Organisms. Research data were analyzed using the frequency, percentage, and content analysis. The research findings showed that the understanding of scientific concepts of Prathom Suksa V students at Wat prasat Rungsarit School was at the misconception level, with the pre-learning understanding being at the misconception level for all concepts (5.56% to 33.33%); while after learning, their understanding of the scientific concepts was at the misconception level in only one concept, i.e. the concept of the process of changes that occurs in the life cycle of insects (5.56%). As for the students’ understanding of scientific concepts at the complete understanding level, it was found that before learning, they had complete understanding of seven scientific concepts (5.56 %), namely, that of the functions and parts of flowers, that of the dissemination of pollinators, that of fertilization, that of the change of flowers after fertilization, that of sexual reproduction, that of asexual reproduction, and that of utilization of knowledge on insect life cycle. After learning, more than 50 % of the students had complete understanding of three scientific concepts, namely, that of the components of the stamens and pistil (55.56%), that of plant propagation (61.11%), and that of sexual reproduction (55.56%).en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_143881.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons