Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4073
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาณุมาศ ขัดเงางาม | th_TH |
dc.contributor.author | พุทธชาติ พิมพ์สี, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-13T01:49:42Z | - |
dc.date.available | 2023-03-13T01:49:42Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4073 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการปฏิบัติตามคำพิพากษาของศาลปกครองในคดีที่เพิกถอนคำสั่งปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษานี้ มุ่งศึกษาการปฏิบัติตามคำพิพากษาศาลปกครอง ที่เพิกถอนคำสั่งลงโทษปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการ โดยการศึกษาแนวคิด หลักทฤษฎีและคำวินิจฉัยของศาลปกครองต่างประเทศ เช่น ฝรั่งเศส เยอรมัน และเบลเยี่ยม แล้วนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับการปฏิบัติตามคำพิพากษาศาลปกครองศาลปกครองที่เพิกถอนคำสั่งลงโทษปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการของประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อหาแนวทางแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติตามคำพิพากษาศาลปกครองที่เพิกถอนคำสั่งปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการต่อไป การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสารโดยศึกษาค้นคว้าจากตำรา บทความทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ แนวคำพิพากษาและคำสั่งศาลปกครอง ผลการศึกษาพบว่า คำพิพากษาศาลปกครองที่เพิกถอนคำสั่งปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการ มีผลผูกพันคู่กรณีให้ต้องปฏิบัติตามคำพิพากษา และฝ่ายปกครองที่เป็นฝ่ายแพ้คดีมีหน้าที่ ต้องปฏิบัติตามคำพิพากษาด้วยการดำเนินการคืนสถานะความเป็นข้าราชการให้แก่ข้าราชการที่เป็นฝ่ายที่ชนะคดีเสมือนไม่เคยถูกปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการมาก่อน ซึ่งการปฏิบัติตามคำพิพากษาศาลปกครอง ที่เพิกถอนคำสั่งปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการ ฝ่ายปกครองจะปฏิบัติตามคำพิพากษาได้เฉพาะ ที่กฎหมายรองรับให้ปฏิบัติได้ แต่กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันไม่รองรับให้ฝ่ายปกครองปฏิบัติตาม คำพิพากษาที่เพิกถอนคำสั่งปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการได้อย่างครบถ้วน โดยเฉพาะการคืนสิทธิประโยชน์และสวัสดิการให้แก่ข้าราชการฝ่ายที่ชนะคดี ดังนั้น นอกจากจะนำแนวทางการปฏิบัติตามคำพิพากษาของศาลปกครองต่างประเทศมาเป็นแนวทางการปฏิบัติตามคำพิพากษาที่เพิกถอนคำสั่งปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการแล้ว ฝ่ายปกครองยังต้องแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อรองรับการปฏิบัติ ตามคำพิพากษาศาลปกครองที่เพิกถอนคำสั่งปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการด้วย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การลงโทษ | th_TH |
dc.subject | คำพิพากษาศาล | th_TH |
dc.subject | คดีและการสู้คดี | th_TH |
dc.title | การปฏิบัติตามคำพิพากษาของศาลปกครองในคดีที่เพิกถอนคำสั่งปลดออกจากราชการหรือไล่ออกจากราชการ | th_TH |
dc.title.alternative | Compliance with adminstrative court's judgment in the case of repeal the dismissal or expulsion punishment | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to study the concepts and theories related to rulings of administrative courts in other countries, such as France, Germany, and Belgium, and compare them with judgments of the Administrative Court in Thailand repealing orders to dismiss or expel a civil servant from government service, and the enforcement of those judgments. The intent is to find approaches to revise and improve related laws. This was a documentary research based on study of textbooks, journal articles, theses, research reports, rulings and judgments of the Administrative Court. The findings showed that judgments of the Administrative Court repealing orders to dismiss or expel a civil servant from government service entailed an obligation on the part of the disputing party to take action following the judgment. The losing party is required to re-instate the dismissed or expelled person back to his or her status as a civil servant as if there had been no dismissal or expulsion. The administration can apply such a judgment of the Administrative Court only to the extent supported by the law, but at present the administration cannot fully enforce such a judgment in terms of completely returning all the rights, benefits and welfare due to the civil servant after the case to repeal the dismissal or expulsion order has been won. It is recommended that the administration should follow the example of other countries in the enforcement of judgments of the Administrative Court repealing orders to dismiss or expel a civil servant from government service, and that relevant laws should be revised to enable the administration to fully enforce such judgments. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License