Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4102
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | สีฟ้า สิทธิเกษมกิจ, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-13T06:39:40Z | - |
dc.date.available | 2023-03-13T06:39:40Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4102 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนคาทอลิก จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูโรงเรียนคาทอลิก จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ปฏิบัติการสอนในภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2559 จำนวน 222 คน ได้มาโดยวิธีการลุ่มแบบแบ่งชั้นโดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนคาทอลิก จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนคาทอลิกจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า (1)พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมด้านจริยธรรมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยครูไม่ใช้ระบบเครือข่ายสังคมเพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพนัน (2)พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมด้านการสื่อสารและบริการอยู่ในระดับมาก โดยครูใช้เครือข่ายสังคมในการติดต่อสื่อสารแทนการใช้โทรศัพท์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และ (3)พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียนการสอนอยู่ใน ระดับปานกลาง โดยครูใช้เครือข่ายสังคมในการค้นหาความรู้ที่ทันสมัย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี. | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี. | th_TH |
dc.subject | เครือข่ายสังคม | th_TH |
dc.subject | ครู--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนคาทอลิก จังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Social network usage behaviors for learning of teachers at Catholic Schools in Surat Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to investigate the social network usage behaviors for learning of teachers at catholic schools in Surat Thani province. The research sample consisted of 222 teachers teaching in the first semester of the 2016 academic year at catholic schools in Surat Thani province, obtained by stratified random sampling using the school as the sampling unit. The employed research instrument was a questionnaire on social network usage behaviors for learning of teachers at catholic schools in Surat Thani province. Statistics for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that the overall social network usage behavior for learning of teachers at catholic schools in Surat Thani province was at the high level. When specific aspects of the behaviors were considered, it was found that (1) the social network usage behaviors in the morality aspect were at the highest level, with the teachers refraining from using the social network to disseminate information on gambling; (2) the social network usage behaviors in the communications and service aspect were at the high level, with the teachers using the social network for communications in place of the telephone in order to reduce the expenditure; and (3) the social network usage behaviors in the instructional management aspect were at the moderate level, with the teachers using the social network in searching for up-to-date knowledge. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_151737.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License