Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัชนีกร สมศักดิ์, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-13T12:43:52Z-
dc.date.available2023-03-13T12:43:52Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4142-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง ของที่ล้ำค่าภูมิ ปัญญาร่องเคาะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมที่สร้างขึ้นกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ 3 คน และนักเรียนโรงเรียนร่องเคาะวิทยา ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 จำนวน 10 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ หนังสืออ่าน เพิ่มเติม เรื่อง ของดีล้ำค่า ภูมิปัญญาร่องเคาะ ที่สร้างขึ้น แบบประเมินคุณภาพหนังสืออ่านเพิ่มเติม และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออ่านเพิ่มเติม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาปรากฏว่า (1) หนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องของที่ล้ำค่า ภูมิปัญญาร่องเคาะ ที่ สร้างขึ้นประกอบด้วยเนื้อหาจำนวน 6 บท ได้แก่ ท้องถิ่นร่องเคาะ ภูมิปัญญาเกี่ยวกับความเชื่อและ ศาสนา ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับอาหารและผัก พื้นบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับศิลปกรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน โดยแต่ละ เรื่องมีภาพประกอบ คำอธิบายศัพท์ และกิจกรรมท้ายบท (2) การตรวจสอบคุณภาพหนังสือโดย ผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่าหนังสืออ่านเพิ่มเติมในภาพรวมมีคุณภาพเหมาะสม โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ ระหว่าง 0.66 - 1.00 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นว่าคุณภาพของหนังสืออ่านเพิ่มเติมในภาพรวมมี ความเหมาะสมในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหนังสืออ่านประกอบ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ลำปางth_TH
dc.subjectภาษาไทย--หนังสืออ่านประกอบth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่องของดีล้ำค่าภูมิปัญญาร่องเคาะสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeThe construction of a supplementary reading entitled Rongkoh local wisdom for Prathom Suksa VI students in Wang Nuea District, Lampang Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were (1) to construct a supplementary reading entitled Rongkho Local Wisdom for Prathom Suksa VI students in Wang Nuea district, Lampang province; and (2) to verify quality of the constructed supplementary reading.The sample consisted of three experts and 10 Prathom Suksa VI students at Rong Kho Wittaya School, all of which were purposively selected. The employed instruments for the study were the constructed supplementary reading entitled Rongkho Local Wisdom, a book quality assessment form, and a questionnaire on student’s opinions toward the supplementary reading. Statistics employed for data analysis were the mean and standard deviation.Findings of the study were that (1) the constructed supplementary reading entitled Rongkho Local Wisdom comprised six chapters: Rongkho Local Area; Local Wisdom Concerning Beliefs and Religions; Local Wisdom Concerning Customs and Rites; Local Wisdom Concerning Foods and Local Vegetables; Local Wisdom Concerning Arts; and Local Wisdom concerning Folk Songs; each of the chapters was completed with illustrations, glossary, and end-of-chapter activities; (2) results of quality verification of the reading by experts showed that the overall quality of the supplementary reading was appropriate as shown by the IOC’s of 0.66 - 1.00; and (3) the students had opinions that the overall quality of the supplementary reading was appropriate at the highest level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_143404.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons