Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4146
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงเดือน พินสุวรรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | กาญจนวิไล โมมินทร์, 2500- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-13T13:38:26Z | - |
dc.date.available | 2023-03-13T13:38:26Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4146 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีทำนาย สังเกต-อธิบาย และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีทำนาย-สังเกต-อธิบาย กับเกณฑ์ ร้อยละ 70 ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสุเหร่าแคราย จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 23 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของสารและการจำแนกสาร โดยใช้วิธี ทํานาย-สังเกต-อธิบายแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 2 ฉบับ คือ แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนซึ่งมีค่า ความเที่ยง เท่ากับ .95 และ 94 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้วิธีทำนาย-สังเกต-อธิบาย สูงกว่าก่อนจัด กิจกรรมการเรียนรู้ และ (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 หลัง กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีทำนาย-สังเกต-อธิบาย เท่ากับร้อยละ 74.76 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์ร้อยละ 70 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ฉะเชิงเทรา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องสมบัติของสารและการจำแนกสารโดยใช้วิธีทำนาย-สังเกต-อธิบาย ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสุเหร่าแคราย จังหวัดฉะเชิงเทรา | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of science learning activities in the topic of properties and classification of substances using the predict-observe-explain method on learning actievement of Prathom Suksa VI students at Surao Khaerai School in Cha Choeng Sao Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | achievements of Prathom Suksa VI students befor and after learning from science learning activities using the predict-observe-explain method; and (2) to compare science learning achievement of Prathom Suksa VI students after learning from science activities using the predict-observe-explain method with the criterion of 70 per cent. Population of this study comprised 23 Prathom Suksa VI students who were studying in the first semester of academic year 2013 at Surao Khaerai School in Chachoengsao province. Research instruments employed in this study were science learning activities management plans on the topic of Properties and Classification of Substances using the predict-observe-explain method, and two learning achievement tests for pre-testing and post-testing, with reliability coefficients of .95 and .94, respectively. Statistics used for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. The research findings showed that (1) the post-learning science learning achievement of Prathom Suksa VI students who learned from science learning activities using the predict-observe-explain method was higher than their pre-learning science learning achievement; and (2) the post-learning science learning achievement of Prathom Suksa VI students who learned from science learning activities using the predict-observe-explain method was equal to 74.76 per cent which was higher than the criterion of 70 per cent. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_138630.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License