Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/414
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โกศล มีคุณ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | เจียรนัย ทรงชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วิไลวรรณ จำรูญนิรันดร์, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T07:37:04Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T07:37:04Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/414 | - |
dc.description | วิทยานพินธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิชัยเชิงสัมพันธ์เปรียบเทียบ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสถานการณ์ ทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมวินัยในการเรียนและพฤติกรรมวินัยในการกีฬาของนักเรียน (2)ศึกษา จิตลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมวินัยในการเรียนและพฤติกรรมวินัยในการกีฬาของนักเรียนและ (3) ศึกษาตัวแปรในกลุ่มสถานการณ์ทางสังคมและจิตลักษณะร่วมกันในการทำนายพฤดิกรรมวินัยใน การเรียนและพฤติกรรมวินัยในการกีฬาของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นนักเรียนโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรีระดับประถมศึกนา ตอนปลาย มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ปีการศึกษา 2545 จำนวน 290 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดมาตรประมาณค่า จำนวน10 แบบวัคมีค่าความเที่ยง ตังแต่ .72 ถึง .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 2 ทาง และ 3 ทาง การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมวินัยในการเรียนและ พฤติกรรมวินัยในการกีฬา คือ แบบอย่างที่ดี บรรยากาศการเรียน (2) จิตลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมวินัยในการเรียนและพฤติกรรมวินัยในการกีฬา คือ เจตคติต่อการกีฬา แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ ลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน และ (3) ชุดตัวทำนายที่ประกอบด้วย สถานการณ์ทางสังคม 3 ตัวแปรจิตลักษณะ 5 ตัวแปร สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมวินัยในการเรียนและพฤติกรรมวินัยในการกีฬาของนักเรียมได้มากกว่ากลุ่มตัวแปรใดกลุ่มตัวแปรหนึ่งโดยลำพัง เฉพาะในกลุ่มย่อยจำนวน 5 กลุ่ม(เกินร้อยละ 5) ตัวแปรทั้งหมดสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมวินัยในการเรียนของนักเรียนไต้ ตั้งแต่ ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 27.6 โดยมีตัวทำนายที่สำคัญ คือ ลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน เหตุผลเชิงจริยธรรม แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิและทำนายพฤติกรรมวินัยในการกีฬาของนักเรียนได้ตั้งแต่ร้อยละ 27.9 ถึง ร้อยละ 39.3 โดยมีตัวทำนายที่สำคัญ คือ แบบอย่างที่ดี เจตคติต่อการกีฬา แรงจูงใจใฝ่ส้มฤทธิ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงเรียนกีฬา | th_TH |
dc.subject | วินัยในโรงเรียน | th_TH |
dc.subject | นักเรียน--พฤติกรรม | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมวินัยในการเรียน และพฤติกรรมวินัยในการกีฬาของนักเรียน โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to learning discipline behaviors and sport discipline behaviors of the students in Suphan Buri sports school | en_US |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study was a correlational comparative research with the purposes to (I) study social situation factors related to students' learning discipline behaviors and sport discipline behaviors; (2) study psychological factors related to students' learning discipline behaviors and sport discipline behaviors; and (3) study the combined use of social situation variables and psychological variables as predictor of students' learning discipline behaviors and sport discipline behaviors. The research sample consisted of290 randomly selected upper e)ementary, lower secondary, and upper secondary students of Suphanburi Sports School in the 2002 academic year. The research instruments for data collection were 10 summated rating scale questionnaires with reliabilities ranging from. 72 to .89. Statistical procedures for data analysis were the two-way and three-way ANOV A, multiple regression analysis, and Scheffe's method of pairwise comparison. Main research findings were the following: (1) Social situation factors related with students' learning discipline behaviors and sport discipline behaviors were: good model, and learning atmosphere. (2) Psychological factors related with stuaents' learning discipline behaviors and sport discipline behaviors were attitude toward sports, achievement motivation, and future orientation with self control. (3) The predictor set combining three social situation variables, and five psychological variables could predict learning discipline behaviors and sport discipline behaviors with greater predictability than that of using either the social situation variables or the psychological variables alone as the predictor for prediction of only five subgroups (more than 5 percent). It was found that the two groups of variables together could predict students' learning discipline behaviors from 20 to 27.6 percent, with the following main predictors: future orientation with self control, moral reasoning, and achievement motivation. The two groups of variables together could also predict students' sport discipline behaviors from 27.9 to 39.3 percent, with the following main predictors: good model, attitude toward sports, and achievement motivation | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License