Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4152
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภาณุ ส่องศรี, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T01:36:33Z-
dc.date.available2023-03-14T01:36:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4152-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง สิทธิของชุมชนในการฟ้องคดี มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฏี ความเป็นมาและหลักการของสถานะทางกฎหมายของชุมชน (2) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคของชุมชนในการฟ้องคดี (3) เพื่อวิเคราะห์กฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิของชุมชนของไทยเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ (4) เพื่อนำผลวิเคราะห์มาสังเคราะห์เป็นแนวทางเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของชุมชนในการฟ้องคดี การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการดำเนินการวิจัยเป็นการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยศึกษาค้นคว้ารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากกฎหมาย หนังสือ ตำรา วารสาร บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ผลงานทางวิชาการและเอกสารสัมมนาทางวิชาการ และการวิจัยสนาม (Field Research) โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) โดยสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องในระดับชุมชน ได้แก่ เครือข่ายยุติธรรมชุมชน ทั้งนี้เพื่อสังเคราะห์ องค์ความรู้ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการ ผลการศึกษาพบว่า สิทธิชุมชนนับเป็นเรื่องใหม่ภายใต้ระบบกฎหมายไทยที่เพิ่งได้รับการสนใจ จึงทำให้ขาดความชัดเจนในหลายเรื่องหลายประเด็น ซึ่งการที่จะทำให้ชุมชนสามารถใช้สิทธิที่รับรองไว้ในรัฐธรรมได้อย่างเป็นรูปธรรมนั้น จำเป็นที่จะต้องกำหนดสถานะของชุมชนให้มีความชัดเจน ด้วยการกำหนดให้ชุมชนมีฐานะเป็นนิติบุคคลภายใต้ระบบกฎหมายไทย อันส่งผลให้ชุมชนมีสิทธิ หน้าที่ ตลอดจนความรับผิด ตามกฎหมาย ผู้เขียนจึงเสนอแนวทางแก้ไขไว้ดังนี้ (1) รับรองนิติฐานะของชุมชน (2) กำหนดนิยามของชุมชนให้เกิดความชัดเจน (3) กำหนดขอบเขตของชุมชน (4) การแสดงเจตนาของชุมชน (5) ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในชุมชนกับชุมชน (6) การเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม (7) การส่งเสริมและคุ้มครองการใช้สิทธิของชุมชน (8) การสิ้นสภาพความเป็นนิติบุคคลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการฟ้องคดีในนามกลุ่มบุคคลth_TH
dc.titleสิทธิของชุมชนในการฟ้องคดีth_TH
dc.title.alternativeThe right of community in accusationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main purposes of the independent study on “The Right of Community in Accusation” are as follows: (1) to study concepts, theories, background and principles of community law status (2) to analyze problems of community laws in prosecution (3) to analyze related law about Thai community laws compare with abroad community law (4) to synthesize analysis results for creation of new construction knowledge and improvement of related laws in prosecution. A qualitative approach was employed in this independent study, and the study was mostly based on documentary research. The researcher collected and analyzed data from law textbooks, journals, articles, researches, seminar documents and field research. People in the community were interviewed. Data were then synthesized to receive knowledge and find methods of improvement. Community right is the new issue underneath Thai legal system which recently received interest. There is a lack of clearness in many of issues in community laws. Therefore, community status must be clearly determined. Communities must be juristic persons under the Thai legal system, so they have rights, duties and liabilities according to the laws. The author provided these correction guidelines: (1) certifying community law status; (2) specifying the community law definitions; (3) specifying the scope of the community law; (4) expression of the community law’s intention; (5) relationship between community members and community; (6) approaching process of judgment; (7) improvement and protection in community’s right; and (8) exhaustion of the juristic personsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons