Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4157
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชัย รัตนสกาววงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมงคล เกษประทุม, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T01:58:30Z-
dc.date.available2023-03-14T01:58:30Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4157-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาหลักกฎหมาย หลักเกณฑ์ต่างๆ และสภาพปัญหาการร้องทุกข์ของข้าราชการและพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น วิเคราะห์ปัญหาการร้องทุกข์ และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา ปรับปรุงกฎหมายในการร้องทุกข์ของข้าราชการและพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่พ้นจากการปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้ว ให้เหมาะสมสอดคล้องกับการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากการศึกษาค้นคว้าตัวบทกฎหมาย ตำราวิชาการต่าง ๆ ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ บทความ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ และศึกษาค้นคว้าวิจัยข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากเว็บไซต์ต่าง ๆ เพื่อรวบรวมข้อมูลทั้งหลายมาทำการศึกษา วิเคราะห์และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ ผลการศึกษาพบว่าปัญหาพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และประกาศคณะกรรมการข้าราชการและพนักงานงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิการอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์และการร้องทุกข์ พ.ศ. 2558 ไม่ได้กำหนดขั้นตอนในเรื่องร้องทุกข์ของข้าราชการและพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่พ้นจากการปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้วไว้อย่างชัดเจน ตลอดจนการกำหนดขั้นตอนการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ของข้าราชการและพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ยังคงปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ได้ย้ายไปสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดอื่นยังมีความซับซ้อน ทำให้ระยะเวลาในการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์นานเกินไป จนทำให้ผู้ถูกคำสั่งทางปกครองเสียสิทธิ์หลายประการ ผู้ศึกษาจึงเสนอแนวทางในการศึกษาให้เห็นถึงสิทธิของผู้ร้องทุกข์ที่พ้นจากการปฏิบัติราชการจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้ว เฉพาะผู้ที่ถูกกระทบสิทธิเท่านั้น โดยให้กำหนด ขั้นตอน ระยะเวลาในการดำเนินการให้รวดเร็วยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น--ข้าราชการและพนักงาน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาคดีปกครอง)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาการร้องทุกข์ของข้าราชการและพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่พ้นจากการปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้วth_TH
dc.title.alternativeProblems of complaint submission of Local Administrative Office Government Officials and employees after being out of service from Local Administrative Officesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study legal principles and other doctrines relating to complaint submissions by local administrative office government officials and employees after being out of service from their previous local administrative offices. The main purpose is to analyze the problems of complaint submission and identify recommendations for such problems, which are in accordance with the personnel administration of local administrative offices. The independent study is a qualitative research based on academic texts available both in Thailand and abroad. The article is a research report comprising related information from various websites. The data is compiled and analyzed systematically. The study shows that two applicable laws - Local Administrative Office Personnel Management Act B.E.2542 and Notice of Government Officials and Local Administrative Office Employees: Standards of Right to Appeals and Complaint Consideration B.E. 2558 - do not clearly provide local administrative office government officials and employees with a right to submit a plaint after being out of service from their previous local administrative offices. In other words, there is no concrete procedure for them to submit a complaint after being transferred from the previous offices. As a result, they are likely to be deprived from various rights. The researcher recommends directives for studying the rights of plaintiffs after they are out of service from local administrative offices – only the affected persons. The procedure should be accordingly clear and take much less timeen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons