Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4159
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริพันธ์ พลรบ | th_TH |
dc.contributor.author | มนตรี วงศ์สว่างศิริ, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-14T02:05:19Z | - |
dc.date.available | 2023-03-14T02:05:19Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4159 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง หลักห้ามศาลพิพากษาเกินคำขอในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวความคิด ทฤษฎี ของไทยและของต่างประเทศ เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบหลักกฎหมายและแนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองไทยกับศาลในคดีแพ่งของไทยและศาลต่างประเทศ และเพื่อเสนอแนะแนวทางการกำหนดคำบังคับของศาลปกครองไทยที่เกี่ยวกับหลักห้ามศาลพิพากษาเกินคำขอในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารจากเอกสาร บทความทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ ข้อมูลที่เผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แนวคำวินิจฉัยของศาลไทยและศาลต่างประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับหลักห้ามศาลพิพากษาเกินคำขอในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ผลการศึกษาพบว่า ศาลปกครองไทยได้นำหลักห้ามศาลพิพากษาเกินคำขอมาปรับใช้แก่คดีปกครองในฐานะหลักกฎหมายทั่วไป โดยในคดีปกครองทั่วไปได้นำมาใช้ในคดีอย่างเคร่งครัดเช่นเดียวกับศาลในคดีแพ่งของไทย ส่วนในคดีสิ่งแวดล้อมที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับประโยชน์สาธารณะนั้นได้นำมาใช้ในคดีอย่างผ่อนคลายเช่นเดียวกับศาลปกครองเยอรมัน และการที่มิได้มีการบัญญัติหลักการดังกล่าวไว้อย่างชัดเจน ก็อาจมีผลทำให้แนวคำวินิจฉัยของศาลปกครองไทยมีคำพิพากษาที่แตกต่างกัน และหากศาลยึดหลักห้ามศาลพิพากษาเกินคำขออย่างเคร่งครัดก็จะทำให้ไม่สามารถอำนวยความยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อมได้อย่างแท้จริง อีกทั้งการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะโดยใช้วิธีการระบุข้อสังเกตเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการดำเนินการให้เป็นไปตาม คำพิพากษาของศาลปกครองไทยซึ่งมิใช่คำบังคับนั้น มิได้มีผลเป็นการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะในทางปฏิบัติแต่อย่างใด ผู้ศึกษาจะเห็นว่าควรที่จะบัญญัติกฎหมายปกครองของไทยที่เกี่ยวกับ หลักห้ามศาลพิพากษาเกินคำขอในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | กฎหมายสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.subject | วิธีพิจารณาคดีปกครอง--ไทย | th_TH |
dc.title | หลักห้ามศาลพิพากษาเกินคำขอในคดีปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม | th_TH |
dc.title.alternative | Application of ne ultra petita doctrine to the Administrative Cases Concerning Environment | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent research on “The application of ne ultra petita doctrine to the administrative cases concerning environment” aims at studying into Thai and foreign concepts and theories in this respect in order to comparatively analyze Thai administrative law, civil law and precedents and those of foreign ones, and finally to suggest the guideline on Thai administrative court adjudication concerning environment. This study is a qualitative research relying on documentary research of academic articles, theses, information acquired from electronic media, and Thai and foreign courts precedents concerning the application of ne ultra petita doctrine to the administrative cases concerning environment. The result of study reveals that Thai administrative courts strictly abide by the ne ultra petita doctrine as a general principle of law. It is applied in general administrative cases like those of civil cases. However, in the cases concerning environment, the administrative courts tend to apply it less strictly like those of German administrative courts precedents. Nevertheless, if there is no clearly stated principle, the cases will be arbitrarily adjudicated in diversified ways. In other words, if the courts strictly abide by the ne ultra petita doctrine, the environment can never be restored. Merely statement of remarks on guideline or instruction of compliance with the execution of judgment, which is not strictly enforced, can never lead to bring about the protection of public benefits in practice. It is therefore suggested that Thai administrative cases concerning environment should have a clear-cut principle in the application of ne ultra petita doctrine to Thai administrative cases. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License