Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ สันติรจนาวงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิมุติ โพธิอำพล, 2500-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T03:13:38Z-
dc.date.available2023-03-14T03:13:38Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4177-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนึ้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณธรรมของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 และ (2) เปรียบเทียบคุณธรรมของนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 จำแนกตามขนาดโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน และ ครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 345 คน จำแนกเป็นผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 50 คน และ ครูผู้สอน 295 คน รวม 345 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใชัในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชพเฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณธรรมของนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับ ดังนี้ ด้านความอดทน ด้านความซื่อสัตย์ ด้านความมีระเบียบวินัย ด้านความเสียสละ และด้านความรับผิดชอบ และ (2) เปรียบเทียบคุณธรรมของนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์เขต 3 จำแนกตามขนาดโรงเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยโรงเรียนขนาดเล็กนักเรียนมีคุณธรรมมากกว่าโรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญ่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความดี--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleคุณธรรมของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์เขต 3th_TH
dc.title.alternativeThe morality of students in schools under the office of Kalasin Primary Education Service Area 3en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the morality of students in schools under the Office of Kalasin Primary Education Service Area 3; and (2) to compare the morality levels of students in schools under the Office of Kalasin Primary Education Service Area 3, as classified by school size. The research sample totaling 345 school personnel consisted of 130 administrators and 295 teachers in schools under the Office of Kalasin Primary Education Service Area 3, obtained by simple random sampling. The employed research instrument was a rating scale questionnaire with .98 level of reliability. The statistics used for data analysis W’ere the mean, standard deviation, ANOVA, and Scheffe’s method for pair-wise comparison. Research findings showed that (1) the overall and by-aspect levels of morality of students in schools under the Office of Kalasin Primary Education Service Area 3 were at the high level; aspects of morality of students could be ranked as follows: patience, honesty, discipline, sacrifice, and responsibility; and (2) students in schools of different sizes under the Office of Kalasin Primary Education Office Area 3 differed significantly in their morality levels at the .05 level, with the morality level of students in small schools were higher than those of students in medium schools and large schools.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_130047.pdf11.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons