Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4179
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถํ้าth_TH
dc.contributor.authorยงยุทธ ศรีพรม, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T03:18:52Z-
dc.date.available2023-03-14T03:18:52Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4179en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่องการศึกษากรณีปัญหาการขึ้นทะเบียนประวัติอาชญากรภายใต้หลักการคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลตามรัฐธรรมนูญนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาแนวคิดทฤษฎีและหลักการปัญหาการขึ้นทะเบียนประวัติอาชญากรภายใต้หลักการคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลตามรัฐธรรมนูญ เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายกรณีปัญหาการขึ้นประวัติอาชญากรภายใต้หลักการคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลตามรัฐธรรมนูญของประเทศไทยและเปรียบเทียบต่างประเทศ เพื่อศึกษาปัญหากฎหมายเกี่ยวกับปัญหาการขึ้นทะเบียนประวัติอาชญากรภายใต้หลักการคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลตามรัฐธรรมนูญ เพื่อเสนอแนะแนวทางและมาตรการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายปัญหาการขึ้นทะเบียนประวัติอาชญากรภายใต้หลักการคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลตามรัฐธรรมนูญ การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารประกอบด้วยเอกสารที่เกี่ยวข้องทางวิชาการตำราหนังสือบทความ รายงานการวิจัย รายงานวิชาการต่างๆ สื่ออิเล็กทรอนิกส์บทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นตัวบทกฎหมายของประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อนำมาวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่ผลการวิจัย ผลการศึกษา พบว่า การขึ้นทะเบียนประวัติอาชญากรของไทย มีกระบวนการจัดทำทะเบียนประวัติเมื่อบุคคลที่ตกเป็นผู้ต้องหาหรือผู้ถูกกล่าวหา โดยให้พนักงานสอบสวนและเจ้าหน้าที่ตำรวจในระดับสถานี แล้วส่งไปตรวจยังกองทะเบียนประวัติอาชญากรและจะจัดเก็บในรูปแบบทะเบียนประวัติอาชญากรเพื่อใช้ในภารกิจของสำนักงานตำรวจแห่งชาติและให้บุคคลที่สามหรือหน่วยงานของรัฐอื่นๆ เข้าถึงหรือแทรกแซงประวัติอาชญากร ซึ่งทะเบียนประวัติอาชญากรถือเป็นสิทธิข้อมูลส่วนบุคคลภายใต้หลักการคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลตามรัฐธรรมนูญ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกับปัญหาการขึ้นทะเบียนประวัติอาชญากร พบว่าจะต้องพิจารณาตามทฤษฎีทางอาญาสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะมีคำพิพากษาถึงที่สุด ข้อเสนอแนะ พบว่าปัจจุบันแนวความคิดของการคงไว้ซึ่งทะเบียนประวัติอาชญากรมีการเปลี่ยนแปลง หลายประเทศเริ่มมีแนวความคิดของการลบทะเบียนประวัติอาชญากรมาใช้ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ดังนั้นควรแก้ไขประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดีลักษณะ 32 บทที่ 4 ในการลงรายการในทะเบียนประวัติอาชญากรเมื่อศาลได้มีคำพิพากษาให้ลงโทษแล้ว สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ควรมีการพิจารณาปรับเปลี่ยนถ้อยคำ “ประวัติอาชญากร” เปลี่ยนเป็นคำว่า “ประวัติผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิดอาญา” และเห็นควรตราพระราชบัญญัติทะเบียนประวัติอาชญากรเป็นกฎหมายเฉพาะฉบับใหม่ โดยการนำรูปแบบกระบวนการและแนวนโยบายในการลบทะเบียนประวัติอาชญากรจากรูปแบบของประเทศฝรั่งเศสมาเป็นแนวทางในการปรับใช้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอาชญากรth_TH
dc.subjectอาชญากร--การคุ้มครองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาการขึ้นทะเบียนประวัติอาชญากรภายใต้หลักการคุ้มครองสิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลตามรัฐธรรมนูญth_TH
dc.title.alternativeProblems of criminal record disclosure and the right to privacy under the constitutionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on the problems of criminal record disclosure and the right to privacy under the constitution aimed to study the concept and theory of criminal record disclosure and the right to privacy under the constitution, to study legal measure of criminal record disclosure and the right to privacy under the constitution by comparing Thai and foreign laws, to analyze the legal problems of criminal record disclosure, and the right to privacy under the constitution in order to propose recommendation for amending these legislations. This research was a qualitative research by using the documentary research method, from the documents consists of academic matters such as textbooks, books, articles, research reports, reports along with the electronic academic matters which contain related legal provisions whether Thai or foreign laws, to analyze and synthesizing the information to be a research result. The research result showed that the registration of criminal record procedure in Thailand begins when the person has the status as the accused. The inquiry officer or the police officer will transfer the information to examine at Criminal Records Division. Then this agency will collect all information in form of criminal record for using under the Royal Police and related official agency’s mission. The government agencies or the third parties can access and invade the criminal record’s information. However, the criminal record can be considered as the privacy data under the constitution. Thus, the right of personal privacy must be protected under the principle that everyone charged with a criminal offence shall have the right to be presumed innocent until proved to guilty according to the law. Moreover, at present, the concept of deletion of criminal records is used widespread in many countries in substitution for keeping the criminal records. The propose for recommendation are the amendment of the police regulation which is not relating to the case, title 32, chapter 4, stating that after the court judgment, the police officer will record by using the word of “criminal record”. It should be edited to “the accused record”. In addition, it suggests enacting the legislation on the registration of criminal record by looking at the model of the deletion of criminal record from France as guidelines.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons