Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/421
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กมลชัย รัตนสกาววงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ชนม์พิชญ์ เทพแก้ว, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T08:08:39Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T08:08:39Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/421 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่องการจำกัดสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง กรณีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่น ใช้สิทธิลาออกโดยไม่สุจริต มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด และหลักกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่นและการจำกัดสิทธิดังกล่าว กรณีการลาออกก่อนครบวาระที่มีเจตนาสมัครรับเลือกตั้งใหม่ ในตำแหน่งเดิมโดยไม่สุจริต วิเคราะห์ข้อกฎหมายและผลกระทบจากซึ่งเกิดความเสียหายต่อระบบการเลือกตั้ง และงบประมาณของประเทศ และเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาต่อไป การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสาร ด้วยการรวบรวมข้อมูลจากตัวบทกฎหมาย หนังสือ ตำรา วิทยานิพนธ์ เอกสารประกอบการเรียนการสอน การสัมมนา รวมตลอดถึงข้อมูลสารสนเทศ บนอินเทอร์เนตทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผลการวิจัยพบว่า การลาออกก่อนครบวาระของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อเหตุผลบางประการ เช่น ลาออกเพื่อสมัครในตำแหน่งเดิม หรือลาออกเพื่อหวังผลทางการเมืองแก่ตนเองหรือพวกพ้อง หรือทำให้ผู้อื่นเสียเปรียบในการสมัครรับเลือกตั้ง ถือเป็นการลาออกโดยมีเจตนาไม่สุจริต เป็นการใช้สิทธิโดยไม่ชอบ ขัดหลักสุจริต ไม่เป็นไปตามหลักประชาธิปไตย ถึงแม้การลาออกเป็นสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของแต่ละบุคคล แต่การลาออกโดยมีเจตนาไม่สุจริตต่อการ สมัครส่งผลกระทบต่อระบบการเลือกตั้ง สิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐ กฎหมายก็ไม่จำเป็นต้องคุ้มครองสิทธิ ของบุคคลเหล่านั้น ควรมีวิธีการป้องกันปัญหาจากใช้สิทธิโดยไม่สุจริตทำให้มีการเลือกตั้งบ่อย ลดความเสียหาย ต่อประโยชน์ของรัฐ และป้องกันนักการเมืองอาศัยช่องโหว่ของกฎหมายเพื่อความได้เปรียบทางการเมือง จึงเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในการจำกัดสิทธิสมัครรับเลือกตั้งบุคคลที่ลาออกโดยมีเจตนาไม่สุจริตหรือมีพฤติการณ์ แวดล้อมไม่สุจริตต่อการสมัครในตำแหน่งที่ลาออก ซึ่งหวังผลทางการเมืองแก่ตนเองหรือพวกพ้อง ต้องจำกัดสิทธิ ในการสมัครรับเลือกตั้ง โดยเสนอแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อจำกัดสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ของผู้ที่ลาออกจากตำแหน่งโดยใช้สิทธิไม่สุจริต ดังนี้ “ผู้ใดลาออกจากตำแหน่งก่อนครบวาระ หากมีพฤติการณ์ หรือมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีเจตนาไม่สุจริตอย่างใดอย่างหนึ่งต่อการสมัครรับเลือกตั้ง จะสมัครรับเลือกตั้ง ในตำแหน่งที่ลาออกอีกมิได้” | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.50 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร--การเลือกตั้ง | th_TH |
dc.subject | สมาชิกวุฒิสภา--การเลือกตั้ง | th_TH |
dc.subject | การลาออก--ไทย--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.title | การจำกัดสิทธิสมัครรับเลือกตั้งกรณีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่นใช้สิทธิลาออกโดยไม่สุจริต | th_TH |
dc.title.alternative | Restriction to rights of election candidates : a case study where the members of the House of Representatives, Senators, Local Council Members, and local administrators using dishonest resignation rights | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2016.50 | en_US |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.50 | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The current study on “Restriction to Rights of Election Candidates: A Case Study Where the Members of the House of Representatives, Senators, Local Council Members, and Local Administrators Using Dishonest Resignation Rights” was conducted in order to find out legal concepts and provisions of law relating to rights of election candidates of members of the House of Representatives, senators, local council members, and local administrators and the restriction thereof, to find out the causes of the resignation before completing the full term to run for election in order to be elected as the same position with a dishonest intention, to analyze the legal issues and effects occurred from those causes which affect the election system and the country’s budget, and to give some solutions to solve the problem. This research is a qualitative study. This research is a qualitative study. The data were collected from doing document research by gathering information from legislations, books, textbooks, theses, teaching supplementary materials, seminar, and information from the internet both in Thai and English versions. The results of the study revealed that the resignation before completing the full term of members of the House of Representatives, senators, local council members, and local administrators for certain reasons such as the resignation with an intention to apply for the same position in order to take advantages for themselves or for their companions, or to make other people lose, is considered as a dishonest act. It is contrary to the principles of good faith and democracy. Although the resignation is everyone’s right and freedom, the resignation with a dishonest intention affects the election system and the waste of the country’s budget. Therefore, those people should not be protected by the laws. In addition, there should be methods to prevent those problems in order to decrease the damage to the interests of the state and to prevent those politicians who try to take advantages by using the weaknesses of the laws. The solutions to solve the problems are to restrict right to election of those candidates who have resigned with a dishonest intention, improper reasons, and an intention to take advantages from the politics for themselves and their companions and to propose the amendment of the related law as follows: “Any candidate who has resigned before completion of his or her full term, if there are circumstances or reasonable causes to believe that there is any dishonest intention to take advantages from such resignation, he or she shall not apply to be a candidate for the same position in the next election.” | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ภาณินี กิจพ่อค้า | th_TH |
Appears in Collections: | Law-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib153728.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 49.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License