Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4262
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิชth_TH
dc.contributor.authorวราพร ศรีเจริญ, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T01:50:09Z-
dc.date.available2023-03-15T01:50:09Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4262en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “การบังคับใช้ประมวลจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่น” มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมา แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่นของไทยและต่างประเทศ (2) ศึกษาประมวลจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่นเปรียบเทียบกับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองระดับชาติ และกฎหมายต่างประเทศ (3) ศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่น (4) นำเสนอมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการวิจัยทางเอกสารจากตำรากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด ทฤษฎี กฎหมาย คำพิพากษา และสภาพปัญหาเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ผลการศึกษาพบว่า มาตรการทางกฎหมายที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและประมวลจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่นเป็นเพียงคำแนะนำหรือวิธีการปฏิบัติ การบังคับใช้ประมวลจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่น ในปัจจุบันมีปัญหาในการใช้บังคับที่ไม่เป็นรูปธรรม ไม่ได้กำหนดโทษขั้นรุนแรงสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่นที่กระทำผิดจริยธรรม ขาดสภาพบังคับทางกฎหมาย การอยู่ร่วมกันในสังคมต้องสร้างกติกาขึ้นมาบังคับ การบัญญัติกฎหมายขึ้นมาเป็นกติกาการอยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข กฎหมายกำหนดโทษขึ้นมาเพื่อลงโทษผู้กระทำผิด ผู้ศึกษาจึงได้เสนอแนะการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย เช่นให้มีการตราออกใช้ “ประมวลจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่น” เป็นกฎหมายบังคับใช้โดยทั่วไปในลักษณะอย่างเดียวกับจรรยาบรรณ ใช้เป็นฉบับเดียวครอบคลุมท้องถิ่นทุกแห่ง กำหนดให้มีองค์กรกลางในการควบคุมกำกับดูแลการดำเนินการสอบสวนคดีเกี่ยวกับจริยธรรม ให้คณะกรรมการจริยธรรม มิใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองด้วยกันเอง ควรจะเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้จริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของทางราชการ แก้ไขเพิ่มเติมบทลงโทษควรมีการกำหนดบทลงโทษเพิ่มเติมตามความร้ายแรงของพฤติการณ์ และเพิ่มเติมการกำหนดคุณสมบัติผู้สมัครรับเลือกตั้ง กรณีกระทำผิดประมวลจริยธรรม ในกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectจริยธรรมการเมืองth_TH
dc.titleการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativeCode of conduct of the incumbent local politicsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on “Code of Conduct Of the incumbent local politics” is aimed to study 4 objective. (1) To study a theory about the ethics of the local political office in Thailand and abroad. (2) To study The Code of Conduct of the incumbent local politics compared to national incumbent and foreign law. (3) To study state of the problems and difficulties in enforcing the Code of Conduct of the incumbent local politics. (4) To propose legislative measures to enforce the Code of Conduct of the incumbent local politics. This independent study was a qualitative research study that used documentary research from provision of laws, textbooks, and other relevant documents. The result of this study legal measures specified in the Constitution of the Kingdom of Thailand. And the Code of Conduct of the incumbent local politics were merely suggestions orprocedures. The current enforcement Code of Conduct of the incumbent local political had problems as they were not concrete, did not impose severe punishments for incumbent local politics that ethical misconduct and lacked legal sanctions.The coexistence in society requires the create of rules for enforcement, legislation was the rule for peacefully coexistence and law blame impose to punish offenders. The study had proposed legal amendments such as the enactment of “Code of Conduct of the incumbent local politics” as the general enforced law covering all local areas as a single issue; the assignment of a central organization in supervising and controlling inquiry proceedings related to ethics; for the ethics committee, not the incumbent local politics themselves, to be the ones with cognition regarding the use of ethics in carrying out government functions; additional correction to legal punishments according to the behavioral severity, and to increase the appointment of qualifications of election candidates in the case of violation against the Code of Conduct, in laws of the establishing the local administration.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons