Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4282
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญเรือน คะเซ็นแก้ว, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T02:44:05Z-
dc.date.available2023-03-15T02:44:05Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4282-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ของ นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม คู่มือครู และ (2) เปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาฟิสิกส์ของนักเรียน ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้ 7 ขั้น และ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือครู กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ โรงเรียนประทาย จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 2 ห้องเรียน รวมทั้งหมด 82 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม สุ่มเป็นกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ สืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือครู เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยได้แก่ (1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น และแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ตามคู่มือครู จำนวน 8 แผน (2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ (3) แบบวัดเจตคติต่อวิชา ฟิสิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น สูงกว่ากลุ่มได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือครูอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นมีเจตคติต่อวิชาฟิสิกส์หลังเรียนสูงกว่ากลุ่มได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือครูอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--ฟิสิกส์th_TH
dc.subjectฟิสิกส์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์และเจตคติต่อวิชาฟิสิกส์ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามคู่มือครู ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนประทาย จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeA comparison of physics achievement and attitudes toward physics resulting from learning activities by the 7E inquiry approach and learning activities based on the teacher's manual approach of Mathayom Suksa V students at Pathai School in Nakhon Ratchasima Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to compare learning achievement in physics of students who learned with learning activities by the 7E inquiry approach and that of students who learned with learning activities based on the teacher's manual approach; and (2) to compare the attitude toward physics of students who learned with learning activities by the 7E inquiry approach and that of students who learned with learning activities based on the teacher’s manual approach. The research sample consisted of 82 Mathayom Suksa V students in two intact classrooms in the Science-Mathematics Program of Prathai School, Nakhon Ratchasima province during the second semester of the 2012 academic year, obtained by cluster sampling. Then one classroom consisting of 44 students was randomly assigned as the experimental group to learn with learning activities by the 7E inquiry approach; while the other classroom consisting of 38 students, the control group to learn with learning activities based on the teacher’s manual approach. The research instruments employed were (1) eight units of learning activities management plans by the 7E inquiry approach and eight units of learning activities management plans based on the teacher’s manual approach; (2) a learning achievement test; and (3) an attitude toward physics test. The statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The findings were as follows: (1) the post-learning achievement of the experimental group students who learned with learning activities by the 7E inquiry approach was significantly higher than that of the control group students who learned with learning activities based on the teacher's manual approach at the .05 level; and (2) the post-learning attitude toward physics of the experimental group students who learned with learning activities by the 7E inquiry approach was significantly higher than that of the control group students who learned with learning activities based on the teacher's manual approach at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_134743.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons