Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/428
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิพย์เกสร บุญอําไพ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | นิคม ทาเเดง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | กําพล ดํารงค์วงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | บุญส่ง ขอดแก้ว, 2504- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T08:45:24Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T08:45:24Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/428 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1)พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาวงจรพัลซเเละสวิตชิ่ง เรื่องวงจรมัลติไวเบรเตอร์สําหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (2)ศึกษาความก้าวหน้าการเรียนรู้ของนักศึกษาที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาวงจรพัลซและสวิตชิ่ง เรื่องวงจรมัลติไวเบรเตอร (3)ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาวงจรพัลซและสวิตชิ่ง เรื่องวงจรมัลติไวเบรเตอร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้มาจากการเลือกเเบบเจาะจง ซึ่งเป็นนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์วิทยาลัยเทคนิคตรังจํานวน 42 คน ผู้วิจัยได้ทดลองใช้ชุดการเรียน โดยทดลองเเบบเดี่ยวจํานวน 3 คน เเบบกลุมจํานวน 9 คนเพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการเรียน หลังจากนั้นไปทดลอง ภาคสนามกับกลุ่มตัวอย่างจํานวน 30 คน ซึ่งเป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์วิทยาลัยเทคนิคตรัง เเละนําผลการทดลองมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพ โดยใช้สูตร E1/E2 เเละ t - test ผลการวิจัยพบวา (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย หน่วยที่ 8 หนวยที่ 9 เเละหนวยที่10 มีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กําหนดคือ 80.18/81.25 , 80.63/81.75 , และ 80.90/80.25 ตามลําดับ (2) นักศึกษาที่เรียนกับชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นักศึกษามีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผานเครือขายในระดับดี | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.70 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน--ไทย | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาวงจรพัลซ์และสวิตชิ่งเรื่อง วงจรมัลติไวเบรเตอร์ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ในวิทยาลัยสังกัดกรมอาชีวศึกษา | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.70 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to (1) develop the computer - based learning packages via network on the topic of Multi vibrator in the Pulse and Switching course for higher certificate of students efficient based on 80/80 standard , (2) study the learning progress of the students who learned from the computer - based learning packages via network on the topic of Multi vibrator in the Pulse and Switching course (3) study the opinion of the students who learned from the computer - based learning packages via network on the topic of Multi vibrator in Pulse and Switching course. The samples used for this research were 42 Higher Certificate students by purposive sampling. The first experiment were 3 individual sample, the second were 9 individual sample to find the efficiency of computer – based learning packages. The last was the field experiment for 30 Higher Certificate students to analyze the result by using E1/E2 and t- test. The results of study indicated that (1) computer – based learning packages via network Unit 8 , Unit 9 and Unit 10 were efficient 80.18/81.25, 80.63/81.75, and 80.90/80.25 respectively as indicated (2) the students achievement was significient increased at the level .05 and (3) the students opinion rated on computer – based learning packages lessons as “good “ | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License