Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4293
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิรานันท์ เหร็ม, 2517-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T03:07:23Z-
dc.date.available2023-03-15T03:07:23Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4293-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 (2) เปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจำแนกตามขนาดของสถานศึกษา และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี ประชากร คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลาเขต 1 จำนวน 159 โรง ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้บริหารหรือครูที่รับผิดชอบนโยบายเรียนฟรีจำนวน 159 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสำรวจรายการใน 4 ด้าน ได้แก่ หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีความตรงเชิงเนื้อหาโดยพิจารณาจากค่าดัชนีความสอดคล้องซึ่งอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า (1) สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลาเขต 1 จำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี เสร็จสิ้นทุกรายการทั้งด้านหนังสือเรียน ด้านอุปกรณ์การเรียน และด้านเครื่องแบบนักเรียน ส่วนด้านกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนพบว่า มีบางรายการที่สถานศึกษาดำเนินการได้น้อยกว่าร้อยละ 80 (2) เมี่อเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า ด้านหนังสือเรียน ด้านอุปกรณ์การเรียน และด้านเครื่องแบบนักเรียน สถานศึกษาขนาดเล็กและขนาดกลาง จำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ดำเนินงานเสร็จสิ้นทุกรายการ ส่วนสถานศึกษาขนาดใหญ่ยังมีบางรายการในแต่ละด้านที่ดำเนินงานได้น้อยกว่า ร้อยละ 80 สำหรับด้านกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พบว่า สถานศึกษาขนาดกลางดำเนินงานได้เสร็จในเกือบทุกรายการ เกินร้อยละ 80 รองลงมาได้แก่ สถานศึกษาขนาดใหญ่และขนาดเล็ก และ (3) ปัญหาการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี พบว่ามีทุกด้านโดยด้านหนังสือเรียนมีปัญหามากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านเครื่องแบบนักเรียน ด้านอุปกรณ์การเรียน และด้านกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ส่วนข้อเสนอแนะการดำเนินงานได้แก่ ควรให้สถานศึกษาเป็นผู้ตัดสินใจเองในการสั่งซื้อหนังสือเรียน ควรพิจารณาการสั่งซื้อหนังสือเรียนเพิ่มเต็มตามความด้องการที่แท้จริงควรแจกหนังสือเรียน ฟรีโดยไม่เรียกเก็บคืน ควรให้สถานศึกษายืดหยุ่นในการดำเนินการเกี่ยวกับการขอหลักฐานการเงินจากผู้ปกครอง และควรจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และห้องเรียนให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1th_TH
dc.subjectนโยบายการศึกษา--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleสภาพการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี ในสถานศึกษาขั้นพิ้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1th_TH
dc.title.alternativeThe state of implementation of the 15-year free education policy in basic education schools under the office of Songkhla Primary Education Service Area 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the roles in administration of student development activities of small-sized school administators under the Office of Lampang Primary Education Service Area 3; and (2) to compare the roles in administration of student development activities of school administrators with different administrative experiences The research sample consisted of 63 randomly selected small-sized school administrators under the Office of Lampang Primary Education Service Area 3. The employed data collecting instrument was a 4-scale rating questionnaire developed by the researcher. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings revealed that (1) the overall role in administration of student development activities of small-sized school administrators under the Office of Lampang Primary Education Service Area 3 was rated at the high level; when specific roles were considered, there were three roles that received the rating at the highest level, namely, the role on creating awareness, the role on plan determination, and the role on knowledge and ability development for the personnel; and (2) small- sized school administrators under the Office of Lampang Primary Education Service Area 3 with different work experiences differed significantly at the .05 level in their performance of their roles in administration of student development activities, with administrators with work experience of more than five years having significantly higher level of their role performance than that of administrators with work experience of 1 - 5 years.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
full_text143392.pdf12.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons