Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/429
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมานิตย์ อินผง, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T08:51:58Z-
dc.date.available2022-08-10T08:51:58Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/429-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถูประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ประชาชนชาวไทยภูเขา ในองค์การบริหารส่วนตำบลแม่เงา อำเภอชุนยวม จังหวัดแม่อ่องสอน (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาขนชาวไทยภูเขาในองค์การ บริหารส่วนตำบลแม่เงา อำเภอชุนยวม จังหวัดแม่อ่องสอน (3) เสนอแนะแนวทางส่งเสริมการมี ส่วนร่วมทางการเมืองของประชาขนชาวไทยภูเขาในองค์การบริหารส่วนตำบลแม่เงา อำเภอชุนยวม จังหวัดแม่อ่องลอน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้นำหมู่บ้านและประชาชน ในตำบลแม่เงา อำเภอชุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนรวม 48 คน เครื่องมีอที่ใช้เป็นแบบ สัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ และใช้วิธีพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประชาชนชาวไทยภูเขามีพฤติกรรมทางการเมือง คือส่วนใหญ่ไป ใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ไม่เคยลงสมัครรับการเลือกตั้ง ไม่เคยดำรงตำแหน่งใน อบต. เคยได้ร่วม รับรู้ข้อมูลข่าวสารจาก อบต. ไม่เคยแสดงความคิดเห็น ไม่เคยติดตามตรวจสอบ เคยได้รับความช่วย เหลือหรือบริการจาก อบต. ได้ให้ความร่วมมือกับ อบต. และไม่เคยร่วมงานและติดต่อสัมพันธ์กับ อบต. (2) ปัญหาและอุปสรรคของการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาขนชาวไทยภูเขา ได้แก่ ความไม่รู้ การไม่มีปัจจัยเกื้อหนุน การไม่เปิดโอกาสกว้างให้เข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง ขององค์การบริหารส่วนตำบล (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ประชาชนชาวไทยภูเขา ได้แก่ การให้ความรู้ การส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเกื้อหนุน การเปิด โอกาสกว้างให้ประชาชนชาวไทยภูเขาเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองขององค์การบริหารส่วนตำบลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.227-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทย -- แม่ฮ่องสอนth_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่น -- ไทย -- แม่ฮ่องสอน -- การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนชาวไทยภูเขา : ศึกษาเฉพาะกรณีองค์การบริหารส่วนตำบลแม่เงา อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativePolitical participation behavior of Thai hill tribe citizens : a case study of Mae Ngao Tambol Administrative Organization, Khun Yuam District, Mae Hong Son Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.227-
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the political participation behavior of Thai hill tribe citizens in Mae Ngao Tambol Administrative Organization (TAO), Khun Yuam District, Mae Hong Son Province; (2) to study problems and obstacles with the political participation of Thai hill tribe citizens in Mae Ngao TAO, Khun Yuam District, Mae Hong Son Province; and (3) to provide recommendations to promote the political participation behavior of Thai hill tribe citizens in Mae Ngao TAO, Khun Yuam District, Mae Hong Son Province. This is a qualitative research. The sample consisted of 48 village leaders and Thai hill tribe citizens in Mae Ngao Subdistrict, Khun Yuam District, Mae Hong Son Province. Data were collected using an interview form and analyzed using percentages and descriptive analysis. The results showed that: (1) most of the Thai hill tribe citizens used their voting rights but had never run for election or held a position in the TAO. They had received news and information from the TAO but had never expressed their opinions or investigated the TAO’S work. They had received services or assistance from the TAO and had cooperated with the TAO but had never joined in TAO work or had other relations with the TAO. (2) Problems and obstacles with the Thai hill tribe citizens’ political participation included lack of knowledge, lack of supporting factors, and the TAO'S failure to provide wide opportunities for political participation. (3) Recommendations to promote Thai hill tribe citizens’ political participation are to provide education, to promote the development of supporting factors, and to have the TAOs provide wider opportunities for political participation^ben_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107678.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons