กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/429
ชื่อเรื่อง: พฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนชาวไทยภูเขา : ศึกษาเฉพาะกรณีองค์การบริหารส่วนตำบลแม่เงา อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Political participation behavior of Thai hill tribe citizens : a case study of Mae Ngao Tambol Administrative Organization, Khun Yuam District, Mae Hong Son Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษา
ฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษา
มานิตย์ อินผง, 2500-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์
การมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทย -- แม่ฮ่องสอน
การปกครองท้องถิ่น -- ไทย -- แม่ฮ่องสอน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
วันที่เผยแพร่: 2550
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถูประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ประชาชนชาวไทยภูเขา ในองค์การบริหารส่วนตำบลแม่เงา อำเภอชุนยวม จังหวัดแม่อ่องสอน (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาขนชาวไทยภูเขาในองค์การ บริหารส่วนตำบลแม่เงา อำเภอชุนยวม จังหวัดแม่อ่องสอน (3) เสนอแนะแนวทางส่งเสริมการมี ส่วนร่วมทางการเมืองของประชาขนชาวไทยภูเขาในองค์การบริหารส่วนตำบลแม่เงา อำเภอชุนยวม จังหวัดแม่อ่องลอน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้นำหมู่บ้านและประชาชน ในตำบลแม่เงา อำเภอชุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวนรวม 48 คน เครื่องมีอที่ใช้เป็นแบบ สัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ และใช้วิธีพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประชาชนชาวไทยภูเขามีพฤติกรรมทางการเมือง คือส่วนใหญ่ไป ใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ไม่เคยลงสมัครรับการเลือกตั้ง ไม่เคยดำรงตำแหน่งใน อบต. เคยได้ร่วม รับรู้ข้อมูลข่าวสารจาก อบต. ไม่เคยแสดงความคิดเห็น ไม่เคยติดตามตรวจสอบ เคยได้รับความช่วย เหลือหรือบริการจาก อบต. ได้ให้ความร่วมมือกับ อบต. และไม่เคยร่วมงานและติดต่อสัมพันธ์กับ อบต. (2) ปัญหาและอุปสรรคของการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาขนชาวไทยภูเขา ได้แก่ ความไม่รู้ การไม่มีปัจจัยเกื้อหนุน การไม่เปิดโอกาสกว้างให้เข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง ขององค์การบริหารส่วนตำบล (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ ประชาชนชาวไทยภูเขา ได้แก่ การให้ความรู้ การส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยเกื้อหนุน การเปิด โอกาสกว้างให้ประชาชนชาวไทยภูเขาเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองขององค์การบริหารส่วนตำบล
รายละเอียด: วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550
URI: http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/429
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Pol-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
107678.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons