Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/434
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งพงษ์ ชัยนามth_TH
dc.contributor.authorวรพันธ์ อินทร์ปัญญา, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T10:06:05Z-
dc.date.available2022-08-10T10:06:05Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/434-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมือง (2) ระดับการมีส่วนร่วมทางการเมือง (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสังคมปัจจัยด้านเศรษฐกิจ และปัจจัยด้านการเมืองกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองและ (4) แนวทางในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยงตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาฌาจักรไทย พ.ศ. 2540 กลุ่มตัวอย่างสำหรับการวิจัย คือ ชาวเขาเผ่ากระเหรียงที่ได้รับสัญชาติไทย อายุ 18 ปีขึ้นไป พื้นที่ตำบลแม่ยาวและตำบลดอยสาง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย จำนวน 330 คนเครี่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยต้านสังคม ปัจจัยต้านเศรษฐกิจ และปัจจัยด้านการเมือง (2) การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับท้องถิ่นอยู่ในระดับน้อย (3) ปัจจัยส่วนบุคลไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมทางการเมือง ส่วนปัจจัยด้านสังคม คือ การเข้าร่วมประชุมประจำหมู่น้าน ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ คือ รายได้ต่อเดือน และปัจจัยด้านการเมือง คือ การเป็นสมาชิกพรรคการเมืองมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมทางการเมือง (4) แนวทางในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยงมีความคิดเห็นว่า ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเสนอปัญหาและความต้องการพัฒนากับ ผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรงและควรให้มีการศึกษาวิชาการปกครองส่วนท้องถิ่นกับนักเรียน และประชาชนเพิ่มมากขึ้นในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourcereformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทย -- เชียงรายth_TH
dc.subjectชาวเขา -- ไทย -- เชียงใหม่ -- กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมทางการเมืองของชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยงในพื้นที่อำเภอเมืองจังหวัดเชียงราย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540th_TH
dc.title.alternativePolitical participation of Karen Hill tribe people in Muang district, Chiang Rai Province under the 1997 constitution of the Kingdom of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) factors that affected political participation; (2) the degree of political participation; (3) the relationships between personal, social, economic, and political factors and political participation; and (4) ways of promoting political participation of Karen hilltribe people under the 1997 Constitution of the Kingdom of Thailand. The sample consisted of 330 Karen hilltribe people with Thai nationality with the age of 18 and over living in Macyao and Doyhang Subdistricts, Muang District, Chiang Rai Province. Data were collected by using a questionnaire and analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and Chi Square. the results showed that (1) factors affecting political participation were personal, social, economic, and political factors. (2) The majority of the sample participated in local politics only to a small degree. (3) Personal factors were not related to participation in local politics. The social factor, i.e. attending village meetings, economic factors, i.e. monthly income, and political factors, i.e. the affiliation with a political party, were related to political participation. (4) Karen hill tribe people should be given opportunity to raise the problems and express their need for development to local administrators directly. They strongly agreed that more students and people should be enhanced to take a Local Government course.en_US
dc.contributor.coadvisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุลth_TH
dc.contributor.coadvisorฐปนรรต พรหมอินทร์th_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
101785.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons