Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติมา สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกาญจนา ใจกว้าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุธีรา วงศ์พุฒิ, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T10:19:34Z-
dc.date.available2022-08-10T10:19:34Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/435-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพของบรรณารักษ์ สภาพ ปัญหาและอุปสรรคความต้องการการพัฒนาทางวิชาชีพและรูปแบบกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพที่เหมาะสมสำหร้บบรรณารักษ์สถาบันการศึกษา ลังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาประชากรศึอ บรรณารักษ์ที่มีวุฒิ การศึกษาชั้นตํ่าปริญญาตรีทางบรรณารักษศาสตร์/สารนิเทศ ศาสตร์/สารสนเทศศาสตร์ จำนวน 148 คน และผูทรงคุณวุฒิที่คัดเลึอกแบบเจาะจง จำนวน 5 คน เครื่องมีอที่ใช้ได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และคำ เบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิลัยพบว่า (1) บรรณารักษ์ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาสูงสุดคือปรญญาดรีบรรณารักษศาสตร์สารนิเทศศาสตร์/สารสนเทศศาสตร์ (ร้อยละ 75.00) รับผิดชอบทุกงานของท้องสมุด (ร้อยละ 80.49) และมีตำแหน่งหัวหน้างานห้องสมุด (ร้อยละ 91.22) (2) กิจกรรมการพัฒนาทางวิชาชีพที่บรรณารักษ์ทุกคนเคยเข้าร่วมมากที่สุดคือ การอ่านและศึกษาด้วยตนเอง (ร้อยละ 100.00) และกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพที่บรรณารักษ์ไม่เคยเข้าร่วมมากที่สุดคือ การปฐมนิเทศงาน (ร้อยละ95.27) (3) ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาทางวิชาชีพมีค่าเฉลี่ยรวมในระดับปานกลาง (4) กิจกรรมที่บรรณารักษ์ต้องการการพัฒนาวิชาชีพมีค่าเฉลี่ยรวมในระดับมาก หัวข้อที่บรรณารักษ์ส่วนใหญ่ต้องการพัฒนาทางวิชาชีพคือ ระบบห้องสมุดอัตโนมติ (ร้อยละ 77.02) ส่วนเหตุผลที่ต้องการการพัฒนาทางวิชาชีพคือ การนำมาใช้ปรับปรุงและพัฒนางาน (ร้อยละ 86.49) หน่วยงานที่ต้องการให้จัดกิจกรรมคือสถาบันการศึกษาบรรณารักษศาสตร์/สารนิเทศศาสตร์/สารสนเทศศาสตร์ (ร้อยละ 70.95) สถานที่ที่ต้องการให้จัดกิจกรรมคือ จังหวัดใหญ่ ๆ ในทุกภูมิภาคของปรrเทศ (ร้อยละ 39.86) (5) รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาทางวิชาชีพที่เหมาะสมครอบคลุมทุกกิจกรรม โดยเน้นการศึกษาต่อระดับปรญญาโทสาขาบรรณารักษ์ศาสตร์/สารนิเทศศาสตร์/สารสนเทศศาสตร์คำสำคัญ การพัฒนาทางวิชาชีพบรรณารักษ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.288-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.subjectบรรณารักษ์th_TH
dc.subjectการศึกษาทางอาชีพth_TH
dc.titleการพัฒนาทางวิชาชีพของบรรณารักษ์สถาบันการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาth_TH
dc.title.alternativeProfessional development of librarians under the Offical Vocational Education Commissionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2005.288-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine librarians' status, professional development, problems and obstacles and study the appropIiate professional development activities model for librarians under the Official Vocational Education Commission .The population totaled 148 libnuians with bachelor degrees and five specific chosen experts in Libnuy and Infonnation Science. The questionnaire was the research tool and the statistics used for research data analysis were percentage, mean, and standard deviation., The research findings were: (l) Most libnuians were chieflibraIians (91.22%) that have a bachelor degree in Library artd InfOimation Science (75.00%) and are responsible for all library functions (80.49%). (2) The greatest number of professional development activities in which all librarians participated wa. reading/self study ( 100%) while job orientation was the one that most librarians never participated in (95.27%). (3) The problems and obstacles oflibrarians' professional development were in the medium mean. (4) The activities that librarians need for professional development was in the high mean and the topic most requested by the librariar1Swas the automatic library system (77.02%). The reasons for the need of professional development were career improvement and development (86.49 %). Librarians want library and infonnation science institutions to organize professional development activities (70.95%) in the larger provinces of Thailand (39.86%). (5) The appropriate professional development activity models covered all activities but further studies to attain a master's degree in Library and Infonnation Science was the most emphasized topic-
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons