Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4362
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรางคณา โตโพธิ์ไทย | th_TH |
dc.contributor.author | อาภากร วงษ์เกิดศรี, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-15T07:05:01Z | - |
dc.date.available | 2023-03-15T07:05:01Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4362 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนวิชา วิทยาศาสตร์ สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนเตรียมพุทธศาสตร์ จังหวัดปราจีนบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนในโรงเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนเตรียม พุทธศาสตร์ จํานวน 218 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการจัดสภาพแวดล้อม การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฎว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนการสอน วิชาวิทยาศาสตร์สําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนเตรียมพุทธศาสตร์โดยภาพรวม อยู่ใน ระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า (1) อยู่ในระดับมากที่สุด 3 ด้าน ได้แก่ด้านกายภาพ คือ มี สภาพแวดล้อมในห้องเรียนและอุปกรณ์เพียงพอ ด้านจิตภาพ คือ ครูมีการชี้แจงแผนการเรียน รายวิชาและวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน ด้านสังคม คือ ผู้เรียนกับผู้เรียนมีปฎิสัมพันธ์กันมาก (2) อยู่ในระดับมาก 1 ด้าน ได้แก่ ด้านความต้องการ คือ มีความต้องการห้องเรียนเสมือนจริง และ (3) อยู่ในระดับน้อย 1 ด้าน ได้แก่ ด้านปัญหาและอุปสรรค คือ ขาดการเรียนแบบกลุ่ม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การจัดการชั้นเรียน | th_TH |
dc.subject | สภาพแวดล้อมห้องเรียน | th_TH |
dc.title | การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนเตรียมพุทธศาสตร์ จังหวัดปราจีนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Science instructional environment management for Secondary Level students at Triam Bhuddasart School in Prachin Buri Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to study science instructional environment management for secondary level students at Triam Bhuddasart School in Prachin Buri province. The research population comprised 218 secondary level students at Triam Buddasart School in Prachin Buri province. The employed research instrument was a questionnaire on science instructional environment management. Statistics for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that students had opinions that the overall practice of science instructional environment management for secondary level students at Triam Buddasart School was at the high level. When specific aspects of the management were considered, it was found that (1) three aspects were rated at the highest level, namely, the physical aspect, with the item receiving the top rating mean being that on the appropriateness of classroom environment and the sufficiency of materials and equipment; the mental aspect, with the item rfeceiving the top rating mean being that on the teachers giving explanations on learning management plan and instructional objectives for each course; and the social aspect, with the item receiving the top rating mean being that on the interaction among learners being at the high level; (2) one aspect was rated at the high level, i.e. the needs aspect, with the item receiving the top rating mean being that on the need for virtual classroom; and (3) one aspect was rated at the low level, i.e. the problems and obstacles aspect, with the item receiving the top rating mean being that on the lack of learning in groups. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_148139.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License