Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4375
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย ศรีรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศรัณยา ณ นคร, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T07:53:01Z-
dc.date.available2023-03-15T07:53:01Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4375-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง สิทธิของชุมชนในการยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 212 มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับสิทธิชุมชนในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (2) วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับสิทธิในการยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 212 (3) วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับผู้ทรงสิทธิชุมชน และการใช้สิทธิของชุมชนในการยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 212 การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการวิจัยทางนิติศาสตร์โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์เอกสารต่าง ๆ (Documentary Research) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ตำรา บทความทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ รวมทั้งบทบัญญัติของกฎหมาย พร้อมทั้งศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายรัฐธรรมนูญของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ผลจากการศึกษาพบว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 66 และมาตรา 67 ได้รับรองคุ้มครองให้ “ชุมชน” “ชุมชนท้องถิ่น” และ “ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม” เป็นผู้ทรงสิทธิ มีสิทธิหน้าที่ตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ โดยสถานะในทางกฎหมายของชุมชน ชุมชนท้องถิ่น และชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมนั้น มีสถานะเป็นคณะบุคคลตามที่รัฐธรรมนูญได้รับรองให้เป็นผู้ทรงสิทธิสามารถใช้สิทธิได้ตามรัฐธรรมนูญ ส่วนการกระทำการแทนชุมชนนั้น สามารถกระทำผ่านผู้นำของชุมชน หรือจะกระทำการในฐานะปัจเจกชนและบุคคลในชุมชนโดยมิจำต้องมีฐานะเป็นผู้นำชุมชนหรือเป็นผู้ได้รับมอบอำนาจจากบุคคลในชุมชนแต่อย่างใด นอกจากนั้น ชุมชน ชุมชนท้องถิ่น และชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม สามารถใช้สิทธิโดยการเป็นผู้ฟ้องคดีต่อ ศาลรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 212 ได้ เฉกเช่นเดียวกันกับบุคคลธรรมดา และนิติบุคคลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสิทธิชุมชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleสิทธิของชุมชนในการยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 212th_TH
dc.title.alternativeThe right of a community to submit a complaint to the constitutional court under constitution of the Kingdom of Thailand B. E. 2550 (2007) section 212en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study objectives were to; (1) study the concepts and theories about the community rights under the Constitution of the Kingdom of Thailand BE 2550 (2007); (2) To study the rights of community to submit the petition to the Constitutional Court under the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550, Section 212.; (3) To analyze problems relating to the communal entitled persons who have to exercise the rights of the community in the submitting petition to the Constitutional Court. This research is a qualitative research conducted by compiling and analyzing various documents such as textbooks, journal articles, thesises, dissertations, it also compares the recognition of community rights under the Thai Constitution with the German Basic Law. The results of the study show that the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550, Section 66 and Section 67 has certified that "community", "local community" and "traditional local community" are entitled persons to have the authority and duty to act according to constitutional law. Also member of the community has a legal status which is certified by the Constitution to exercise their rights according to the Constitution. The exercising rights on behalf of the community can be done through the leader of the community or can possibly be done by individuals who belong to the community. Besides a community, local community and traditional local community can exercise their right by submitting a case to the Constitutional Court according to the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550, Section 212 similarly as same as individuals and juristic personsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons