Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4411
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเข็มทอง ศิริแสงเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณกร วณิชชาภิวงศ์, 2521-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T02:46:06Z-
dc.date.available2023-03-16T02:46:06Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4411-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนเครือข่ายเกาะพะงัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 (2) ความสุขในการทำงานของครูในโรงเรียนเครือข่ายเกาะ พะงัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของ ผู้บริหาร กับ ความสุขในการทำงานของครูในโรงเรียนเครือข่ายเกาะพะงัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครู ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 1 ปีการศึกษา 2556 อำเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 69 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .85 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการวิจัยปรากฎว่า (1) โดยภาพรวมครูมีความคิดเห็นว่าผู้บริหารมีภาวะผู้นำอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าด้านอื่นและอยู่ในระดับมาก คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ด้านคุณลักษณะ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ด้านพฤติกรรม และ ด้านการสร้างแรงดลใจ (2) ความสุขในการทำงานของครู อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน และ (3) ในภาพรวมแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารไม่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความสุขในการทำงานของครูในโรงเรียนเครือข่ายเกาะพะงัน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญา และด้านการมุ่งความสัมพันธ์เป็นรายคน มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับความสุขในการทำงานของครู อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนด้านการสร้างแรงดลใจ มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับตํ่ากับความสุขในการทำงานของครูอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทำงาน--แง่จิตวิทยาth_TH
dc.subjectความสุขth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารกับความสุขในการทำงานของครูในโรงเรียนเครือข่ายเกาะพะงัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between administrator's leadership styles and work performance happiness of teachers in Ko Pha-ngan network schools under the Office of Surat Thani Primary Education Service Area 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to: (1) study leadership styles of administrators in Ko Pha-ngan network schools under the Office of Surat Thani Primary Education Service Area 1; (2) study work performance happiness of teachers in Ko Pha-ngan network schools under the Office of Surat Thani Primary Education Service Area 1; and (3) study the relationship between leadership styles of school administrators and work performance happiness of teachers in Ko Pha-ngan network schools under the Office of Surat Thani Primary Education Service Area 1. The research sample consisted of 69 primary school teachers in the 2013 academic year of Ko Pha-ngan network schools under the Office of Surat Thani Primary Education Service Area 1, Ko Pha-ngan district, Surat Thani province. The employed research instrument was a questionnaire developed by the researcher with .85 reliability coefficient. Research data were statistically analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient Research findings revealed that (1) teachers perceived that the overall leadership style of the administrators was at the moderate level, with the aspect receiving the higher rating mean and being at the high level were the aspect of idealized influence on attributes, the aspect of idealized influence on behaviors, and the aspect of inspirational motivation; (2) the work performance happiness of teachers was at the moderate level in all aspects; and (3) in overall, no significantly positive relationship was found between leadership styles of administrators and work performance happiness of teachers in Ko Pha-ngan network schools; however, it was found that the aspect of intellectual stimulation and the aspect of individualized consideration had moderate positive relationships with work performance happiness of teachers which were significant at the .01 level, and the aspect of inspirational motivation had a low positive relationship with work performance happiness of teachers which was also significant at the .01 level, all of which were in accordance with the hypotheses.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151042.pdf12.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons