Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภฤกษ์ สมสะอาด, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T03:14:09Z-
dc.date.available2023-03-16T03:14:09Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4426-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาประวัติความเป็นมา และแนวคิดเกี่ยวกับการกระทำทางละเมิดของฝ่ายปกครอง และการใช้สิทธิเรียกร้องให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิด รวมทั้งการใช้มาตราการบังคับทางปกครองกับเจ้าหน้าที่ผู้ทำละเมิด ตามมาตรา 10 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ตลอดจนกระบวนการและขั้นตอนการบังคับใช้กฎหมายที่ยังไม่มีประสิทธิภาพ พร้อมวิเคราะห์ปัญหาดังกล่าวและเสนอแนะแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาแบบวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการวิจัยเอกสาร เป็นสำคัญ ด้วยการค้นคว้า รวบรวมจากกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง เอกสาร สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ บทความ ตำราวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ คำวินิจฉัย ตัวบทกฎหมาย ตลอดจนข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อกำหนดแนวทางหรือมาตรฐานในการแก้ไขปัญหาหรือแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า การกำหนดอายุความที่ให้หน่วยงานของรัฐใช้สิทธิเรียกร้องภายในสองปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการกระทำละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ผู้พึงจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน และในกรณีที่หน่วยงานของรัฐเห็นว่าเจ้าหน้าที่ผู้นั้นไม่ต้องรับผิด แต่กระทรวงการคลังตรวจสอบแล้วเห็นว่าต้องรับผิด หน่วยงานของรัฐก็จะต้องใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง การกำหนดอายุความดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติและไม่อาจดำเนินให้บรรลุผลของการบังคับให้เจ้าหน้าที่ผู้ทำละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนได้ ผู้เขียนจึงได้เสนอแนะแนวทางแก้ไขให้มีการปรับปรุงบทบัญญัติมาตรา 10 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 เพื่อให้มีความเหมาะสมและสามารถบังคับใช้กฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539th_TH
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์--ละเมิดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาเกี่ยวกับการใช้สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนความเสียหายจากเจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดth_TH
dc.title.alternativeIssue on exercising the right of claim for compensation from public official who committed wrongful acten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study history and concepts regarding a wrongful act committed by administrative official and the exercising of right to claim for compensation from the official who committed tort, including administrative enforcement measure against the public official committing the wrongful act pursuant to section 10 and 12 of Liability for Wrongful Act of Officials Act B.E. 2539. Another objective of this independent study is to study the inefficient law enforcement procedures and processes together with analysis of such issues and the solution to amend relating laws. This study is quantitative research and the methods of this study are mainly researching on documents by gathering information from laws, regulations, declarations, orders, documents, publications, articles, textbooks, researches, theses, decisions as well as information from electronic documents, in order to identify method or standard to resolve relating issues or amend relating laws. From the study, it has been found that the prescription was stipulated that government agency is entitled to claim within two years from the date when the wrongful act and the public official bound to make compensation act became known to the government agency and in case that government agency is of the opinion that such official is not liable but after investigation by Ministry of Finance, such official is considered to be liable, the government agency is obliged to exercise its right of claim against such official within one year from the date when such government agency has an order following to Ministry of Finance’s consideration. Such stipulation of prescription leads to practical issues and failure to enforce the liable official to make compensation. Thus, the author suggested the resolution to such issues which is amendment of section 10 and section 12 of Liability for Wrongful Act of Officials Act B.E. 2539, for the purpose of the appropriateness and efficient law enforcement in the futureen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons