Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4440
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสถาพร ทองจีน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T03:48:25Z-
dc.date.available2023-03-16T03:48:25Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4440-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบ (1) ความพร้อมในการบริหาร จัดการ (2) ปัญหา และ (3) แนวทางการพัฒนาความพร้อมในการบริหารจัดการด้านการให้บริการ ประชาชนตามแนวทางคุณธรรมระหว่างเทศบาลตำบลปากน้ำกับเทศบาลตำบลหงาว ในจังหวัดระนอง แนวทางคุณธรรมซึ่งประกอบด้วย 10 ด้าน ได้แก่ การรักษาความสัจ การรู้จักข่มใจตนเอง ความ อดทน การละความชั่ว การเสียสละ ความเมตตา ความสามัคคี ความสุจริต ความเที่ยงธรรม และการ ส่งเสริมคนดี ได้นำมาใช้เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบครั้งนี้ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงส่ารวจโดยใช้แบบสอบถามซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งการหา ค่าความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.91 กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 1,112 คน แบ่งเป็น พนักงานเทศบาลทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจำ รวมทั้งประชาชนในเขตพื้นที่ของเทศบาลตำบล ทั้ง 2 แห่ง กลุ่มตัวอย่างได้ตอบแบบสอบถามซึ่งเก็บรวมรวบคืนมาได้ 1,022 คน ซึ่งเท่ากับร้อยละ 91.90 ของแบบสอบถามทั้งหมด (1,112) ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้ใช้คอมพิวเตอร์ และสถิติที่นำมาใช้ คีอค่าร้อย ละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาเปรียบเทียบ คามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า (1) ความพร้อมในการ บริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนตามแนวทางคุณธรรมทั้ง 10 ด้านของเทศบาลทั้ง 2 แห่ง อยู่ใน ระดับปานกลาง (2) ปัญหาที่ส่าคัญของเทศบาลทั้ง 2 แห่ง คือ เทศบาลขาดความพร้อมในการสนับสนุน พนักงานเทศบาลในเรึ่องประสิทธิภาคและคุณธรรม (3) แนวทางการพัฒนาความพร้อมในการบริหาร จัดการด้านการให้บริการประชาชนที่สำคัญของเทศบาลทั้ง 2 แห่ง คือ เทศบาลควรนำการบริหารจัดการตาม แนวทางคุณธรรมมาปรับใช้ในหน่วยงาน รวมทั้งควรกำหนดเป้าหมายเชิงคุณภาพในการให้บริการ ประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกำหนดความต้องการ และการกำหนดเป้าหมายของบริการให้ชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบาลตำบลปากน้ำ--การบริหาร.--ระนองth_TH
dc.subjectเทศบาลตำบลหงาว--การบริหาร.--ระนองth_TH
dc.subjectบริการของเทศบาลth_TH
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบความพร้อมในการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนตามแนวทางคุณธรรม ระหว่างเทศบาลตำบลปากน้ำกับเทศบาลตำบลหงาว ในจัหงัดระนองth_TH
dc.title.alternativeThe comparative analysis of management administration readiness in terms of people services according to the morality guideline between the Paknum and the Ngoa Subdistrict Municipalities in Ranong Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to comparatively analyze (1) the management administration readiness, (2) the problems, and (3) the procedures of development readiness in management administration in terms of public services according to the Morality Guideline between the Paknum and the Ngoa Subdistrict Municipalities in Ranong Province. The Guideline comprised of 10 factors was applied as the conceptual framework of this study; namely, keeping promises, self-restraint, tolerance, refraining from doing bad deeds, sacrifice, kindness, unity, honesty, fairness, and supporting decent people. This study was a survey research using questionnaires as instrument which had been pre- tested and checked for validity, and reliability at 0.91 level. Samples of 1,112 consisted of political and non-political municipality officers as well as residents in service areas of the Paknum and the Ngoa Subdistrict Municipalities. The questionnaires were retrieved at the amount of 1,022 (91.90%). Computer and statistics of percentage, mean, standard deviation, and t-test were employed. According to the opinions of the samples, the comparative study results showed that (1) the readiness of management administration in terms of people services according to the Morality Guideline of 10 factors, was at the moderate level; (2) the most important problem of both municipalities was the lack of readiness in supporting officers regarding efficiency and morality; and (3) the important procedure of development of management administration readiness in terms of people services was both municipalities should apply the management administration according to the Morality guideline in their organization management, and should identify qualitative goals of public services, especially the identification of needs and definite service goalen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105708.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons