Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4445
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorยุพา รัตนพรหม, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T03:54:22Z-
dc.date.available2023-03-16T03:54:22Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4445-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อ (1) ศึกษาการให้บริการที่ดีของข้าราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ ตามการรับรู้ของสถานศึกษา และ (2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาข้าราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ ให้มีความสามารถในการบริการที่ดี กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ จำนวน 140 โรงเรียน โดยผู้ให้ข้อมูลให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวนทั้งสิ้น 420 คน และข้าราชการที่ปฏิบัติงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบ สอบถามชนิดมาตรประมาฌค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และแนวคำถามในการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยปรากฎว่า (1) การให้บริการที่ดีตามการรับรู้ของสถานศึกษา โดยภาพรวมมีการปฎิบัติอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะในด้านการให้บริการอย่างก้าวหน้าและด้านการให้บริการอย่างเสมอภาค และ (2) แนวทางการพัฒนาข้าราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากระบี่ให้มีความสามารถในการให้บริการที่ดี ได้แก่ ผู้บริหารต้องตระหนักและเป็นแบบอย่างในการสร้างวัฒนธรรม และค่านิยมร่วมขององค์กรที่เน้นผู้รับบริการเป็นสำคัญ สร้างความเข้าใจกับข้าราชการในบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักงานที่เน้นการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาไม่ใช่เป็นผู้จัดการศึกษา และพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับการให้บริการที่ดีด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยเฉพาะการใช้แนวคิดชุมชน และการเรียนรู้เชิงวิชาชีพเพี่อให้บุคลากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectงานบริการth_TH
dc.subjectการรับรู้th_TH
dc.subjectข้าราชการ--ไทยth_TH
dc.subjectการพัฒนาบุคลากรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการให้บริการที่ดีตามการรับรู้ของสถานศึกษาและแนวทางการพัฒนาข้าราชการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่th_TH
dc.title.alternativeGood services as perceived by schools and guidelines for development of personnel under the Office of Krabi Primary Education Service Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study good services of personnel under the Office of Krabi Primary Education Service Area as perceived by schools; and (2) to study guidelines for development of personnel under the Office of Krabi Primary Education Service Area to equip them with the ability to provide good Service . The sample consisted of 140 schools under the Office of Krabi Primary Education Service Area. The research informants were 420 school administrators and teachers and 11 personnel working at the Office of Krabi Primary Education Service Area. The employed research instruments were a rating-scale questionnaire, with reliability coefficient of .97; and a form containing question guidelines for focus group discussion. The research data were analyzed with the use of frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The research findings were as follows: (1) die overall rating mean for good Service of personnel under the Office of Krabi Primary Education Service Area as perceived by schools was at the highly practiced level, particularly in aspects of providing progressive services and equitable Service ; and (2) guidelines for development of personnel under the Office of Krabi Primary Education Service Area to equip them with the ability to provide good Service were the following: the administrators should be aware of and conduct themselves as exemplary' model for creating corporate culture and shared values of the organization that focus on the client- centered Service ; they should help to develop the personnel’s understanding of the roles and responsibilities of the office that focus on supporting and promotion of education provision rather than being the education provider; and they should develop the personnel to equip them with in-depth understanding of provision of good Service with a variety of methods, particularly in using the concept of professional learning communities to enable the personnel to learn and share their knowledge continuously.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_152878.pdf6.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons