Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/444
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปีติ พูนไชยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุมิตร จำปา, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T11:10:35Z-
dc.date.available2022-08-10T11:10:35Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/444-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผักตบชวาและจอกในการกำจัดซัลเฟตในนํ้าทิ้งจากเหมืองแม่เมาะและศึกษาความเป็นไปได้ที่จะนำผักตบชวาและจอกไปใช้ในการกำจัดซัลเฟตในนํ้าทิ้งจากแหล่งอื่นก่อนปล่อยสู่แหล่งนํ้าธรรมชาติ นํ้าทิ้งจากเหมืองแม่เมาะมีปริมาณซัลเฟตเฉลี่ย 1,069 มิลลิกรม/ลิตร ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานนํ้าทิ้งที่หลายประเทศกำหนด จึงได้ทำการกำจัดซัลเฟตในนํ้าทิ้งโดยการใช้ผักตบชวาและจอก ซึ่งเป็นพืชท้องถิ่น ด้วยการเก็บกักนํ้าไว้ในถังขนาด 100 ลิตร จำนวน 6 ถัง ตลอดระยะเวลา 30 วัน ดำเนินการทดลองซ้ำ 5 ครั้ง เปรียบเทียบประสิทธิภาพของผักตบชวาและจอกโดยการเปลี่ยนแปลงตัวแปรคือ ผักตบชวาหรือจอก ความลึกของนํ้า การครอบคลุมผิวนํ้าของพืชนํ้า และระยะเวลากักเก็บนํ้า ผลการวิจัยพบว่าผักตบชวาและจอกในถังขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เซนติเมตร ความลึกของนํ้า 80 เซนติเมตรและถังขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 58 เซนติเมตร ความลึกของนํ้า 38 เซนติเมตร ในระยะเวลาเก็บกักนํ้า 30 วัน สามารถลดปริมาณซัลเฟตในนํ้าได้ดีกว่าถังควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ประสิทธิภาพในการลดปริมาณซัลเฟตของผักตบชวาและจอกไม่แตกด่างกันทางสถิติ ความลึกของนํ้าก็ไม่มีผลต่อประสิทธิภาพในการลดปริมาณซัลเฟต การครอบคลุมพื้นที่ผิวนํ้าของผักตบชวาและจอกเติมพื้นที่ผิวนํ้าสามารถลดปริมาณฃัลเฟตได้ร้อยละ 28.8 และ 30.2 ตามลำดับ และการครอบคลุมพื้นที่ผิวนํ้าของผักตบชวาและจอกร้อยละ 80 สามารถลดปริมาณซัลเฟตได้ร้อยละ 27.6 และ 28.2 ตามลำดับอย่างไรก็ตามประสิทธิภาพของผักตบชวาและจอกในการลดปริมาณซัลเฟตในนํ้าทิ้งขึ้นอยู่กับระยะเวลาเก็บกัก โดยผักตบชวาและจอกมีประสิทธิภาพในการลดปริมาณซัลเฟตได้สูงระหว่างระยะเวลาเก็บกักนํ้าทิ้งนาน 5-20 วัน โดยประสิทธิภาพการลดปริมาณฃัลเฟตมากที่สุดในวันที่ 5 จะน้อยลงหลังจากวันที่ 10 และน้อยที่สุดตั้งแต่วันที่ 20th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผักตบชวา--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectจอก (พืช)--การใช้ประโยชน์th_TH
dc.subjectน้ำเสีย--การบำบัด--การกำจัดซัลเฟตth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผักตบชวาและจอก ในการกำจัดซัลเฟตในน้ำทิ้งจากเหมืองแม่เมาะth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this experimental study were (1) to compare the efficiency of water hyacinth and water lettuce in treating sulfate from Mae Moh Mine wastewater and (2) to conduct a feasibility study of treating sulfate in wastewater from other sources by using water hyacinth and water lettuce before disposing into natural water resources. The average sulfate concentration in Mae Moh Mine wastewater was 1,069 ทาg/l, which was higher than the wastewater standard in many countries. Therefore, water hyacinth and water lettuce, which were local aquatic plants, were selected to reduce sulfate in 6 plastic tanks each 100 liters for a period of 30 days. Each experiment was repeatedly tested 5 times and compared the efficiency of water hyacinth and water lettuce by varying the independent variables including water hyacinth or water lettuce, depth of water, plant water surface are a coverage, and hydraulic retention time. The result of the five experiments found that water hyacinth and water lettuce in 40 cm diameter tanks, 80 cm depth and in 58 cm diameter tanks, 38 cm depth with retention time of 30 days could reduce sulfate level more than the control at the level of statistical significant 0.05. The efficiency of water hyacinth and water lettuce on sulfate reduction was not statistically different Moreover, the depth of water did not affect the efficiency of sulfate reduction. The 100 percent of water surface area coverage of water hyacinth and water lettuce could reduce sulfate at 28.8 and 30.2 percent respectively, whereas The 80 percent surface area coverage could reduce sulfate at 27.6 and 28.2 percent respectively. However, the sulfate reduction efficiency of both aquatic plants varied with the retention period. The plants were found to reduce water sulfate levels dramatically most from days 5-20. The highest sulfate reduction efficiency was on the 5* day, the reduction efficiency decreased after the lO^day and the least was found after the 20th dayen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77214.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons