Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสารสิทธิ์ ชลอสันติสกุล, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T07:18:56Z-
dc.date.available2023-03-16T07:18:56Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4497-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ทราบถึงปัญหา และสถานการณ์สิ่งแวดล้อมจากถุงพลาสติกในต่างประเทศและประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงทฤษฎี มาตรการทางด้านภาษี กับการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมจากถุงพลาสติก (3) เพื่อเสนอแนะ แนวทางการนามาตรการทางด้านภาษีในต่างประเทศมาใช้ในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมจากถุงพลาสติกในประเทศไทยเป็นการวิจัยทางกฎหมายโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร ตำรา บทความ ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ท ทั้งของไทยและต่างประเทศ เพื่อทราบถึงปัญหาและสถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้ถุงพลาสติก และศึกษาค้นคว้าทฤษฎี แนวคิด มาตรการทางภาษีในการจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้ถุงพลาสติก ผลการศึกษาพบว่าในต่างประเทศนอกเหนือจากการรณรงค์เพื่อลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติกแล้ว รัฐยังได้นามาตรการทางภาษี มาใช้ในการลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก โดยมีประเทศไอร์แลนด์เป็นประเทศแรกที่นาเอามาตรการทางด้านภาษีมาใช้กับการลดปริมาณถุงพลาสติก หรือที่เรียกว่ามาตรการ Plastax มาตรการนี้กาหนดไว้ใน Waste Management (Environment Levy) (Plastictic Bag) Regulations, 2001 ซึ่งออกตามความใน Waste Management Act, 1996 โดยมาตรการ Plastax ที่นำมาใช้ประสบความสำเร็จอย่างมาก เนื่องจากสามารถลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติกลงได้ถึง 94% ภายในเวลาไม่กี่สัปดาห์ และรายได้ที่กรมสรรพากรได้รับจากการจัดเก็บภาษีถุงพลาสติกนี้จะถูกส่งต่อไปยังกองทุนสีเขียว เพื่อพัฒนาโครงการทางด้านสิ่งแวดล้อมต่อไป โดยในปัจจุบันได้มีหลาย ๆ ประเทศได้เริ่มหันมาให้ความสนใจกับมาตรการนี้ ดังนั้น หากมีการนำมาตรการทางภาษีดังกล่าวมาปรับใช้กับประเทศไทยเรา ก็จะเป็นส่วนหนึ่ง ในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศเราต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectถุงพลาสติก--ภาษีth_TH
dc.subjectปัญหาสิ่งแวดล้อม--การจัดการ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleการใช้มาตรการทางภาษีในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม ศึกษากรณีการจัดเก็บภาษีจากการใช้ถุงพลาสติกth_TH
dc.title.alternativeTax measures on environment management : case study of plastic bag taxen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study are : 1) to determine problems and environmental situation from plastic bags usage in a foreign countries and Thailand ; 2) to analyze theories on tax measures dealing with environmental problems derived from plastic bags usage ; 3) to suggest gnidelines of implementation of foreign tax measures to management of environmental problems as a result of plastic bags usage in Thailand. In this independent study, a documentary research was conducted by collecting Thailand foreign texbooks, article, information on the Internet, in order to know the problem and environmental situation by using plastic bag. Taxation theories and concepts and tax measures to management of environmental problems as a result of plastic bags usage were studied. The results showed that the addition to plastic bag reduction campaigns, the foreign government introduced tax measures on plastic bag reduction. Ireland was the first country to implement tax measures to plastic bag reduction as known as the plastic measures in the Waste Management (Environment Levy) (Plastictic Bag) Regulations, 2001 issued under the Waste Management Act, 1996. This measure successfully helped the country reduced plastic bag usage by up to 94% with in a few weeks. The revenues that the revenue department received were passed on to the Green Foundation that would develop environmental projects. Currently, many countries began to pay attention to this measure. If Thailand implements such tax measures, these measures may be a part in solving environmental problems in Thailand to some extenten_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons