Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณth_TH
dc.contributor.authorจงจิตต์ ฤทธิ์หิรัญth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T08:09:50Z-
dc.date.available2023-03-16T08:09:50Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4515en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารจัดการ (2) ปัญหา และ (3) แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสมุนการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครสวรรค์ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยนำการบริหารจัดการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งประกอบด้วย 8 ด้าน ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน การพึ่งตนเอง การเสริมสรัางคุณภาพคนให้มีทั้งความรู้และคุณธรรมควบคู่กัน การรวมกลุ่ม การสรัางเครือข่าย และความสมดุลและการ พัฒนาที่ยั่งยึน มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจด้วยแบบสอบถาม รวมทั้งการสัมภาษณ์แนวลึก เฉพาะผู้เชี่ยวชาญ แบบสอบถามสำหรับการวิจัยสนามนั้นได้ผ่านการทดสอบ รวมทั้งการหาค่า ความเที่ยงตรงและความเชี่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.95 กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตาคลีและองค์การบริหารส่วนตำบลแม่เล่ย์ รวม 1,223 คน หลังจากแจกแบบสอบถามไปแล้ว เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาได้ 1,104 ชุด คิดเป็นรัอยละ90.30 ของแบบสอบถามที่แจกออกไปทั้งหมด (1,223 คน) สำหรับสถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ คือ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิชัย พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยในระดับปานกลาง ว่า ในภาพรวม องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครสวรรค์เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุน การบริหารจัดการ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงทั้ง 8 ด้าน (2) ในส่วนของปัญหาที่สำคัญคือองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครสวรรค์ไม่ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการที่ยึดถือหลักประหยัด (3) สำหรับแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนที่สำคัญคือ องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครสวรรค์ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ควรนำกรอบแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการศึกษาวิจัยในอนาคต และควรศึกษาเปรียบเทียบกับหน่วยงานอื่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.334en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหาร--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียง--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครสวรรค์ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.title.alternativePeople participation in supporting the management administration according to the sufficiency economy philosophy of Subdistrict Administrative Organizations in Nakornsawan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.334-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.334en_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (I) people participation in supporting the management administration, (2) the problems, and (3) the development guidelines of people participation in supporting the management administration of Subdistrict Administrative Organizations in Nakomsawan Province according to the Sufficiency Economy Philosophy. The researcher used the Sufficiency Economy Philosophy as study framework composed of 8 factors which were moderation, rationality, self-immunity, self-reliance, strengthening the qualities of people in both knowledge and morality, group combination, network creating, and equilibrium and sustainable development.This research was a survey research questionnaires in-depth interview. The questionnaire for field research passed validity test and 0.95 level of reliability. Samples were 1,223 people in Takii and Maeley Subdistrict Administrative Organizations. After distributing the questionnaires, the amount of 1,104 (90.30%) of total questionnaires (1,223) were gathered back. Statistical tools employed in analyzing in analyzing data with computer were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research result revealed that (1) the samples agreed at moderate level that as a whole, the Subdistrict Administrative Organizations in Nakomsawan had opportunities for the people to participate in supporting the management administration according to the 8 Philosophy of Sufficiency Economy; (2) the important problem was that Subdistrict Administrative Organizations in Nakomsawan Province had not given enough opportunities for the people to participate in the management of Economy Principle; (3) as for the development Guideline, Subdistrict Administrative Organizations in Nakomsawan Province should provide opportunities for the people to participate more in their management administration. เท addition, they should apply the conceptual framework of the Sufficiency Economy Philosophy in their future research studies, and should conduct comparative studies in the aspect with other organizations.en_US
dc.contributor.coadvisorศิรินทร์ ธูปกล่ำth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107633.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons