Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4525
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเพ็ญพรรณ ณ นคร, 2523- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T08:33:56Z-
dc.date.available2023-03-16T08:33:56Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4525-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพสมรรถนะที่เป็นจริงและสภาพสมรรถนะที่คาดหวังในการพัฒนาสมรรถนะพี่เลี้ยงในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร (2) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะพี่เลี้ยงในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และ (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะพี้เลี้ยงในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ประชากร คือ พี่เลี้ยงในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2560 จำนวน 90 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับที่มีการตอบสนองคู่ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 และ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย ปรากฎว่า (1) สภาพสมรรถนะที่เป็นจริงของพี่เลี้ยงในโรงเรียนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าด้านอื่น คือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครอง และชุมชน และสภาพสมรรถนะที่คาดหวังของพี่เลี้ยงในโรงเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า ด้านอื่น คือ ด้านความเป็นมืออาชีพและการมีภาวะผู้นำ (2) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะพี่เลี้ยงในโรงเรียน พบว่า พี่เลี้ยงมีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านความรู้ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สุขภาพและโภชนาการ มากที่สุด รองลงมาเป็นด้านการประเมินพัฒนาการด้านการจัดประสบการณ์/กิจกรรมการเรียนรู้ ด้านความเป็นมืออาชีพและการมีภาวะผู้นำ และด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน ตามลำดับ และ (3) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะพี่เลี้ยงในโรงเรียน พบว่า พี่เลี้ยงมีความต้องการมากพี่สุดในด้านวิธีการพัฒนาสมรรถนะโดยการศึกษาดูงาน และการพัฒนาตนเอง และมีความต้องการมากที่สุดในการพัฒนาสมรรถนะด้านเนื้อหาสาระเกี่ยวกับจิตวิทยาเด็กปฐมวัย การผลิตสื่อการสอนปฐมวัย และการวัดและประเมินผลพฤติกรรมเด็กth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครูพี่เลี้ยง--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะพี่เลี้ยงในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe needs for competency development of kindergarten teacher aides in School under Lat Krabang District Office, Bangkok Metropolitan Administrationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study actual competencies and expected competencies of kindergarten teacher aids in schools under Lat Krabang District Office, Bangkok Metropolitan Administration; (2) to study the needs for competency development of kindergarten teacher aides in schools under Lat Kt abang District Office, Bangkok Metropolitan Administration; and (3) to study guidelines for competency development of kindergarten teacher aides in schools under Lat Ktabang District Office, Bangkok Metropolitan Administration. The population consisted of 90 kindergarten teacher aides in schools under Lat Krabang District Office, Bangkok Metropolitan Administration during the academic year 2017. The employed research instruments was a dual-response 5-scale rating questionnaire, with reliability coefficients of .96 and .98. Quantitative data were statistically analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and modified priority need index; while qualitative data were analyzed with content analysis. The research findings showed that (1) both overall actual competency and expected competency of kindergarten teacher aides in schools were rated at the high level, with the actual competency aspect receiving the top rating mean being that of the relationship with parents and community; while the expected competency aspect receiving the top rating mean being that of professionalism and leadership; (2) regarding the needs for competency development, it was found that teacher aides in school had the highest need to improve their knowledge about early childhood education curriculum, and health and nutrition, followed by the needs for child development assessment, organizing learning experience and activities, professionalism and leadership, and relationships with parents and community, respectively; and (3) regarding guidelines for competency development of kindergarten teacher aides in schools, it was found that kindergarten teacher aids had the highest need for competency development method through study visits and self- development, and they had highest needs for development of their competencies in early childhood psychology, early childhood media production, and the measurement and evaluation of child behavior.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_156369.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons