Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/458
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพร พุทธาพิทักษ์ผลth_TH
dc.contributor.authorเจริญ นิลสุ, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T02:10:38Z-
dc.date.available2022-08-11T02:10:38Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/458en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการรับรู้สารสนเทศเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกของประชาชน ด้านอาการและความรุนแรงของโรค ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค และการป้องกันโรค (2) ศึกษาแหล่งสารสนเทศเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกของประชาชนในอำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย (จนท.สอ.) แบบเจาะลึกรายบุคคล จำนวน 3 คน การสัมภาษณ์กลุ่มแบบโฟกัสในกลุ่มผู้ร่วมวิจัยที่ได้จากการคัดเลือกโดยวิธีเจาะจงจากประชาชนที่อาศัยในเขตอำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 3 หมู่บ้าน จำแนกเป็นหมู่บ้านเสี่ยงสูง เสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงตํ่า หมู่บ้านละ 8-9 คน รวม 26 คน การศึกษาเอกสาร และการสำรวจหมู่บ้านเพื่อจัดทำแผนที่แสดงการกระจายตัวของ แหล่งสารสนเทศจากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา และจัดกลุ่มเนื้อหาที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยที่สำคัญพบว่า ผู้ร่วมวิจัยทุกหมู่บ้านมีการรับรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกว่าเป็นโรคที่มีอาการรุนแรงจนถึงขั้นทำให์เสียชีวิตได้ ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมากที่สุด คือ การที่เด็กถูกยุงลายกัดตอนนั่งดูโทรทัศน์ภายในบ้านเรือนของตนเอง การป้องกันโรคมีหลายวิธีและมีความสำคัญแตกต่างกัน วิธีที่ผู้ร่วมวิจัยเห็นว่าสำคัญที่สุดคือ การเปลี่ยนน้ำในโอ่งน้ำหรืออ่างอาบน้ำในห้องน้ำ เมื่อพิจารณาแผนที่การกระจายสารสนเทศในหมู่บ้าน พบว่า ผู้ร่วมวิจัยใช้ความสำคัญแหล่งสารสนเทศมากที่สุด 3 แหล่ง คือ จนท.สอ. อสม. และแผ่นผับ ผู้ร่วมวิจัยมีความต้องการแสวงหาสารสนเทศจาก จนท.สอ. มากที่สุด และผู้ร่วมวิจัยทั้งสามหมู่บ้านมีการรับรู้ที่แตกต่างกันในเรื่องของอาการและความรุนแรงของโรค ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค การป้องกันโรคแหล่งสารสนเทศ และการกระจายสารสนเทศในหมู่บ้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.7en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectไข้เลือดออกth_TH
dc.subjectแหล่งสารสนเทศth_TH
dc.titleการรับรู้สารสนเทศโรคไข้เลือดออกของประชาชนในอำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativePerceived information of Selaphum District residents about dengue hemorrhagic feveren_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2006.7-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study 1) the information perception of people about the dengue hemorrhagic fever regarding its symptoms and severity, risk factors, and the disease prevention; and 2) information resources about the dengue hemorrhagic fever of the people in Selaphum district, Roi-et province. The data collection methods of this qualitative study were the in-depth interviews with 3 public health personnel and the focus-group discussion among 26 people selected purposively from 3 small-, medium- and high-risk villages. In addition, related literature was reviewed and the three villages’ information dissemination channels were surveyed. All the interview scripts were analyzed using the content analysis technique. Results found that the participants from all the villages perceived the dengue hemorrhagic fever as a fatal disease. The most important perceived nsk factor was children being bit by mosquitoes while they were watching television in their own houses. A host of methods could be used to prevent the disease and the most important was changing water in jars or water tanks regularly. Together with the information dissemination maps, the participants ranked highly three information sources: public health personnel, village health volunteers and leaflets. They expressed the highest interest in getting information from public health personnel. There are differences in perceived information of the participants in the three villages in all areas: symptoms, severity, risk factors, disease prevention, information sources and information dissemination.en_US
dc.contributor.coadvisorมาลี ล้ำสกุลth_TH
dc.contributor.coadvisorพัชราพร เกิดมงคลth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (4).pdfเอกสารฉบับเต็ม7.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons